Green-Heading
การดำเนินงาน
Execution
การดำเนินงานตามเกณฑ์ห้องสมุดสีเขียว
1.1 การกำหนดนโยบายห้องสมุดสีเขียว

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน
1.1.1 มีบริบทองค์กรและขอบเขตของการบริหารจัดการห้องสมุดที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

(1) มีการกำหนดขอบเขตพื้นที่ของห้องสมุดทั้งหมด ทั้งส่วนของสำนักงาน และพื้นที่บริการ
(2) มีการกำหนดขอบเขตกิจกรรมของห้องสมุด
หอสมุดมีการกำหนดขอบเขตพื้นที่อย่างชัดเจน ทั้งพื้นที่ใช้งานรอบอาคารหอสมุดตามเอกสารและพื้นที่ภายในอาคาร และหอสมุดได้ทำการกำหนดจัดทำขอบเขตกิจกรรมของห้องสมุด โดยเน้นประโยชน์แก่ผู้รับบริการเป็นหลัก ทั้งในแง่ของความสะดวก รวดเร็วในการให้บริการ สภาพแวดล้อมที่สะอาดปลอดภัย โดยยังคงประสิทธิภาพในการทำงานของเจ้าหน้าที่ และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมGL-1.1.1-1 บริบทหอสมุดวังท่าพระ
1.1.2 มีนโยบายห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียวที่สอดคล้องและครอบคลุมประเด็นตามเกณฑ์ห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียว โดยแสดงความมุ่งมั่นอย่างต่อเนื่อง ในด้านห้องสมุด และด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ดังนี้

ด้านห้องสมุด
(1) มีนโยบายการ บริหารจัดการห้องสมุดสีเขียวและการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
(2) มีนโยบายการจัดการและให้บริการทรัพยากรสารสนเทศด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมและเรื่องที่เกี่ยวข้องให้เพียงพอ และพร้อมใช้
(3) มีนโยบายส่งเสริมการเรียนรู้ด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมและเรื่องที่เกี่ยวข้อง
(4) มีนโยบายการสร้างเครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน

ด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม

(รายละเอียดเป็นไปตามเกณฑ์การประเมินสำนักงานสีเขียว)
ผู้บริหารฯได้ประกาศนโยบายพัฒนาสำนักหอสมุดกลางสู่ห้องสมุดสีเขียว เมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม 2566 โดยมีรายละเอียดของนโยบายที่ครอบคลุมทั้งในด้านการประหยัดพลังงาน การส่งเสริมการเข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศที่เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม และการสร้างเครือข่ายความร่วมมือ โดยกำหนดให้บุคลากรในหน่วยงานทุกคนมีส่วนในการร่วมผลักดันนโยบายนี้GL-1.1.2-1 นโยบายพัฒนาสำนักหอสมุดกลางสู่ห้องสมุดสีเขียว
1.1.3 การกำหนดนโยบายห้องสมุดสีเขียว โดยผู้บริหารระดับสูง

(1) นโยบายห้องสมุดสีเขียวจะต้องได้รับการอนุมัติจากผู้บริหารสูงสุด หรือผู้
ที่ได้รับมอบอำนาจ
(2) มีการระบุวันที่การประกาศใช้นโยบายห้องสมุดสีเขียวอย่างชัดเจน
(3) ผู้บริหารหรือผู้มีอำนาจจะต้องสามารถอธิบายถึงวัตถุประสงค์และ
จุดมุ่งหมายของการเป็นห้องสมุดสีเขียว
(4) ผู้บริหารหรือผู้มีอำนาจจะต้องมีส่วนในการติดตามผลการปฏิบัติตาม
นโยบายห้องสมุดสีเขียว
นโยบายพัฒนาสำนักหอสมุดกลางสู่ห้องสมุดสีเขียว ได้รับการอนุมัติจากผู้บริหารโดยมีวันประกาศระบุไว้อย่างชัดเจน คือวันที่ 31 พฤษภาคม 2566 ทั้งนี้ผู้บริหารมีส่วนร่วมในการติดตามผลการปฎิบัติงานผ่านการประชุมคณะกรรมการพัฒนาห้องสมุดสีเขียวเป็นประจำทุกเดือน โดยมีรองผู้อำนวยการ สำนักหอสมุดกลางฝ่ายบริหารเป็นประธานในที่ประชุมGL-1.1.3-1 นโยบายพัฒนาสำนักหอสมุดกลางสู่ห้องสมุดสีเขียว
1.1.4 มีการกำหนดแผนการดำเนินงานห้องสมุดสีเขียวประจำปี

(1) รายละเอียดของแผนจะต้องระบุการดำเนินงานครบทุกหมวด
(2) มีการกำหนดเวลาหรือความถี่ของการดำเนินงานแต่ละหมวด
(3) มีการกำหนดแผนดำเนินงานเป็นลายลักษณ์อักษร และได้รับการอนุมัติจากผู้บริหาร
สำนักหอสมุดกลางมีการกำหนดแผนการดำเนินงานห้องสมุดสีเขียว ประจำปี 2567 โดย กำหนดให้บุคลากรทุกคนมีส่วนร่วมในการรับผิดชอบตามแผน มีการกำหนดความถี่ในการดำเนินงานแต่ละหมวดตามความเหมาะสม และแผนดังกล่าวได้รับการอนุมัติจากผู้บริหารสำนักหอสมุดกลางเป็นที่เรียบร้อย
1.1.5 มีการกำหนดเป้าหมาย และตัวชี้วัดที่ชัดเจนด้านห้องสมุด (ตามเกณฑ์ห้องสมุดสีเขียว) และมีหลักฐานการลงนามอนุมัติและวันที่ประกาศใช้อย่างชัดเจนและเป็นปัจจุบัน ดังนี้

(1) การจัดการและการให้บริการทรัพยากรสารสนเทศ ด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
(2) การส่งเสริมการเรียนรู้เรื่องทรัพยากร สิ่งแวดล้อม และก๊าซเรือนกระจก
(3) การจัดกิจกรรมห้องสมุดสีเขียวร่วมกับเครือข่ายความร่วมมือ
(4) ความพึงพอใจของผู้รับบริการห้องสมุดสีเขียว
สำนักหอสมุดกลางมีการกำหนดเป้าหมายด้านห้องสมุด ประจำปี พ.ศ.2567 ที่มีความสอดคล้องกับเกณฑ์ห้องสมุดสีเขียวดังนี้
1. จัดหาทรัพยากรสารสนเทศด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ให้มีจำนวนเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 100 รายชื่อ
2. จัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้แก่ผู้รับบริการห้องสมุด โดยมีเนื้อหาครอบคลุมทุกหัวข้อดังต่อไปนี้
– การประหยัดพลังงานไฟฟ้า
– การประหยัดน้ำ
– การคัดแยกและใช้ประโยชน์จากขยะหรือวัสดุเหลือใช้
– ก๊าซเรือนกระจก
3. ทำกิจกรรมร่วมกับเครือข่ายความร่วมมือห้องสมุดสีเขียวหรือหน่วยงานอื่น ๆ ในเรื่องที่เกี่ยวกับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ไม่น้อยกว่า 4 ครั้งต่อปี
4. ได้รับคะแนนความพึงพอใจจากผู้รับบริการห้องสมุดไม่น้อยกว่า 4.00
GL-1.1.5-1 เป้าหมายด้านห้องสมุด ประจำปี พ.ศ.2567
1.1.6 มีการกำหนดให้งานห้องสมุดสีเขียว ทั้งด้านห้องสมุด และด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เป็นงานประจำของหน่วยงาน ดังนี้

(1) มีการกำหนดแผนงานห้องสมุดสีเขียวทั้งด้านห้องสมุด และด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมให้เป็นแผนงานประจำของห้องสมุด โดยดำเนินการต่อเนื่องทุกปี

(2) มีการสรุปปัญหาและแนวทางการปรับปรุง เป็นข้อมูลเพื่อกำหนดแผนงานห้องสมุดสีเขียวในปีต่อไป

(3) มีการบูรณาการงานด้านห้องสมุด และงานด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ภายใต้แผนงานพัฒนาห้องสมุดสีเขียว
(4) กำหนดให้งานห้องสมุดสีเขียว เป็นภาระงานของบุคลากรที่ต้องได้รับการประเมิน
สำนักหอสมุดกลางได้กำหนดให้งานห้องสมุดสีเขียวเป็นภาระงานของบุคลากรทุกคน โดยมีสัดส่วนการประเมินภาระงานคิดเป็น 10% ของภาระงานทั้งหมด ผู้บริหารได้กำหนดแผนประจำปีในการดำเนินงาน และจะดำเนินการอย่างต่อเนื่อง ได้มีการสรุปปัญหาและนำมาหารือ เพื่อกำหนดแนวทางในการแก้ปัญหาและปรับปรุงประสิทธิภาพในการทำงานให้ดีขึ้นในที่ประชุมคณะกรรมการพัฒนาห้องสมุดสีเขียวเป็นประจำทุกเดือน
1.1.7 มีการกำหนดนโยบายลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก สอดคล้องกับนโยบายขององค์กร หรือนโยบายของประเทศ หรือนโยบายตามบริบทสากล ดังนี้

(1) มีการกำหนดนโยบายความเป็นกลางทางคาร์บอน ( Carbon Neutrality) หรือ นโยบายการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ (Net Zero) ของห้องสมุด
(2) มีการกำหนดเป้าหมายและแผนงานการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกระยะสั้นและระยะยาวของห้องสมุดที่สอดคล้องกับนโยบายตามข้อ (1)
(3) มีการลด และ/หรือ ชดเชยการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
(4) ผลการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนดในข้อ (2)

1.2 คณะทำงานห้องสมุดสีเขียว

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน
1.2.1 มีการแต่งตั้งคณะกรรมการหรือทีมงานห้องสมุดสีเขียวซึ่งประกอบด้วย คณะกรรมการด้านห้องสมุด และคณะกรรมการด้าน
ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม โดยมีแนวทางดำเนินงาน ดังนี้

(1) ผู้บริหารแต่งตั้งคณะกรรมการหรือทีมงานห้องสมุดสีเขียว ซึ่งประกอบด้วยงานด้านห้องสมุดและด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เป็นลายลักษณ์อักษร
และลงนามอนุมัติการแต่งตั้งคณะกรรมการหรือทีมงานจะต้องครอบคลุมทุกหมวด และประกอบด้วยบุคลากร/ผู้แทนจากทุกฝ่ายในหน่วยงาน
(2) กำหนดอำนาจ บทบาท หน้าที่ ความรับผิดชอบของคณะกรรมการหรือทีมงาน อย่างชัดเจน
สำนักหอสมุดกลางได้มีคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียว โดยผู้บริหารได้ลงนามอนุมัติเป็นลายลักษณ์อักษร ทั้งนี้ในคำสั่งแต่งตั้งได้มีการกำหนดบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของคณะกรรมการในแต่ละหมวด โดยมีโครงสร้างเป็นประธานหมวด เลขานุการหมวดและกรรมการประจำหมวดGL 1.2.1-1 แต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาห้องสมุดสีเขียวและสํานักงานสีเขียว สํานักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร
1.2.2 ร้อยละของคณะกรรมการหรือทีมงานห้องสมุดสีเขียว ด้านห้องสมุดที่ดำเนินงานตามบทบาท หน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมาย ดังนี้

(1) ประธาน/หัวหน้า
(2) คณะกรรมการหรือทีมงานด้าน
ห้องสมุด
คณะกรรมการพัฒนาห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียวมีการดำเนินงานตามแผนงานที่ได้รับมอบหมาย โดยมีประธานหมวดต่าง ๆ เป็นผู้รายงานความคืบหน้าในการดำเนินงานในที่ประชุมคณะกรรมการพัฒนาห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียวเป็นประจำทุกเดือน หลังจากนั้นแต่ละหมวดจะมีการประชุมแผนการดำเนินงานภายในหมวด โดยทั้งประธานหมวด เลขานุการหมวดและกรรมการประจำหมวดเพื่อขับเคลื่อนงานต่อไป

1.3 การทบทวนฝ่ายบริหาร

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน
1.3.1 การกำหนดองค์ประชุมทบทวนฝ่ายบริหาร

(1) มีผู้บริหารเข้าร่วมประชุม
(2) มีตัวแทนของแต่ละฝ่าย/แผนก/ส่วนงานที่มีความเกี่ยวข้องกับการดำเนินงานด้านห้องสมุด ในแต่ละหมวดเข้าร่วมประชุม
(3) จำนวนผู้เข้าร่วมประชุมจะต้องมากกว่าร้อยละ 75 ของจำนวนผู้ที่เป็นคณะกรรมการห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียว พร้อมหลักฐานการลงนามเข้าร่วมประชุม
(4) หากผู้ที่จะต้องเข้าประชุมไม่สามารถเข้าร่วมได้ จะต้องมีวิธีการรายงานผลการประชุมให้รับทราบ พร้อมรับข้อเสนอแนะ
เมื่อวันที่ 25 ตุลาคม 2567 ได้มีการจัดประชุมทบทวนฝ่ายบริหาร โดยมีผู้บริหารและบุคลากรเข้าร่วมการประชุมทั้งสิ้น 64 คน ลาประชุม 18 คน โดยมีผู้เข้าร่วมการประชุมคิดเป็นร้อยละ 78 ของบุคลากรทั้งหมด หลังจากการประชุมได้มีการส่งรายงานการประชุมไปยังบุคลากรทุกคนผ่านระบบ D-SarabunGL-1.3.1-1 รายงานการประชุมทบทวนฝ่ายบริหาร

GL-1.3.1-2 ภาพถ่ายการประชุม
1.3.2 มีการกำหนดวาระการประชุมและทำการประชุมทบทวนฝ่ายบริหารดังนี้

(1) มีการประชุมทบทวนฝ่ายบริหารอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
(2) วาระที่ 1 การติดตามผลการประชุมทบทวนฝ่ายบริหารที่ผ่านมาทั้งด้านห้องสมุด และด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
(3) วาระที่ 2 ทบทวนนโยบายห้องสมุดสีเขียว
(4) วาระที่ 3 ความมีประสิทธิภาพของคณะกรรมการหรือทีมงานด้านห้องสมุด และด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม (ความเพียงพอและความเหมาะสม)
(5) วาระที่ 4 การติดตามผลการดำเนินงานด้านห้องสมุด และด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
(6) วาระที่ 5 การเปลี่ยนแปลงที่จะส่งผลกระทบต่อความสำเร็จในการดำเนินงานด้านห้องสมุด และด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
(7) วาระที่ 6 ข้อเสนอแนะจากที่ประชุม และแนวคิดของผู้บริหารต่อการพัฒนาห้องสมุดสีเขียวอย่างต่อเนื่องทั้งด้านห้องสมุดและด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
(8) จัดทำรายงานการประชุมทบทวนฝ่ายบริหาร รายชื่อผู้เข้าประชุมและภาพถ่ายที่แสดงให้เห็นว่ามีการประชุมจริง
การประชุมทบทวนฝ่ายบริหารที่ได้จัดขึ้นในวันที่ 25 ตุลาคม 2567 นั้นมีวาระที่เป็นไปตามข้อกำหนดหมวด 1.3.2 โดยการประชุมเป็นรูปแบบผสมผสานทั้งออนไซด์และออนไลน์

1.4 การตรวจประเมินภายใน (สำหรับหน่วยงานต่ออายุ)

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน
1.4.1 การวางแผนและดำเนินการตรวจประเมินภายใน ด้านห้องสมุด (ด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เป็นไปตามเกณฑ์การประเมินสำนักงานสีเขียว)

(1) มีการแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจประเมินภายใน ด้านห้องสมุด ประกอบด้วย หัวหน้าผู้ตรวจประเมินและผู้ตรวจประเมิน ที่มีความรู้และประสบการณ์เรื่องห้องสมุดสีเขียว
(2) มีการกำหนดความถี่ในการตรวจประเมินภายใน ด้านห้องสมุด อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
(3) มีการจัดทำข้อกำหนดการตรวจประเมินภายใน ด้านห้องสมุดครอบคลุมทุกหมวด
(4) กำหนดให้ ผู้ตรวจประเมินภายในด้านห้องสมุดแต่ละหมวดมีความเพียงพอ

2.1 การอบรมให้ความรู้และประเมินความเข้าใจ

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน
2.1.1 กำหนดแผนการฝึกอบรม ดำเนินการอบรม การประเมินผล และบันทึกประวัติการฝึกอบรม

(1) ระบุหลักสูตรและความถี่การอบรมลงในแผนการฝึกอบรม โดยหลักสูตรครอบคลุมเนื้อหามีรายละเอียดอย่างน้อยดังนี้

– ความสำคัญของห้องสมุดสีเขียว
– การบริหารจัดการห้องสมุดสีเขียวและการลดปริมาณการปล่อยก๊าซ
เรือนกระจก
– การให้บริการที่มีคุณภาพและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
– การจัดหาและการให้บริการทรัพยากรสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม

(2) ดำเนินการฝึกอบรมตามแผนการฝึกอบรมในข้อ (1) โดยผู้รับการอบรมจะต้องมากกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายในแต่ละหลักสูตร

(3) ประเมินผลการฝึกอบรม เช่น ข้อสอบ หรือการประเมินขณะปฏิบัติงาน เป็นต้น

(4) จัดทำประวัติการอบรมของบุคลากร
มีแผนการฝึกอบรมเนื้อหา 5 ด้านและดำเนินการตามแผน

  -ฝึกอบรมและฝึกซ้อมอพยพหนีไฟ วันที่ 17 มิ.ย.67 ณ สำนักหอสมุดกลาง วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ หอสมุดท่าพระและหอสมุดวิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี

  -ฝึกอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียว วันที่ 23 ก.ค.2567 ณ สำนักหอสมุดกลาง ชั้น 5 นครปฐม และออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom

ท่านวิทยากร รองศาสตราจารย์ ดร.สยาม อรุณศรีมรกต คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ให้ความรู้กับบุคลากร เรื่องทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
2 โครงการ ดังนี้

  1. สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดโครงการอบรม Go Go SU GREEN LIBRARY เพื่อให้เป็นไปตามนโยบายของสำนักหอสมุดกลาง เห็นควรจัดโครงการอบรมให้ความรู้กับบุคลากรด้านห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียว เพื่อให้บุคลากรตระหนักถึงการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องดังกล่าว นำไปปรับใช้ในการดำเนินงานและในชีวิตประจำวันรวมถึงมีส่วนร่วมในการผลักดันให้ สำนักหอสมุดกลางเป็นห้องสมุดสีเขียวที่มีสภาพแวดล้อมที่น่าอยู่ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและมีการพัฒนาที่ยั่งยืนต่อไป โดย รศ.ดร.สยาม อรุณศรีมรกต คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ ม.มหิดล วันที่ 23 กรกฎาคม 2567 เวลา 09.00-16.30 น. ณ ห้องประชุม 1 ชั้น 5 อาคารหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ และผ่านระบบออนไลน์โปรแกรม Zoom วิทยาเขตวังท่าพระและวิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี

  2. สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดโครงการอบรมการให้ความรู้เรื่องการระบุและประเมินปัญหาสิ่งแวดล้อม เพื่อให้เป็นไปตามนโยบายของสำนักหอสมุดกลาง เห็นควรจัดโครงการอบรมให้ความรู้ กับบุคลากรด้านห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียว เพื่อให้บุคลากรตระหนักถึงการอนุรักษ์พลังงาน และสิ่งแวดล้อม มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการระบุและประเมินปัญหาสิ่งแวดล้อม โดย รศ.ดร.สยาม อรุณศรีมรกต คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ ม.มหิดล วันที่ 8 ตุลาคม 2567 เวลา 08.30-16.30 น.
ณ ห้องประชุม 1 ชั้น 5 อาคารหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์

  3. โครงการอบรมฝึกซ้อมอพยพหนีไฟและปฐมพยาบาลเบื้องต้น ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดโครงการอบรมฝึกซ้อมอพยพหนีไฟและปฐมพยาบาลเบื้องต้น ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 วันที่ 17 มิถุนายน 2567 เวลา 09.00-12.00 น. ณ ห้องประชุม 1 ชั้น 5 อาคารหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ และผ่านระบบออนไลน์โปรแกรม Zoom วิทยาเขตวังท่าพระและวิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี
GL-2.1.1-1 แบบทดสอบความรู้

GO-2.1.1-2 สื่อที่ใช้การสร้างความรู้

GL-2.1.1-3 แผนการอบรมความรู้ด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

GL-2.1.1-4 รายละเอียดการฝึกอบรมด้านสิ่งแวดล้อม

GL-2.1.1-5 หลักฐานการลงทะเบียนอบรม Green SULIB 8 ต.ค. 2567

GL-2.1.1-6 หลักฐานการลงทะเบียนอบรม Green SULIB 23 ก.ค. 2567

GL-2.2.1-7 (1-3) การฝึกอบรม

GL-2.1.1-8 (4) ประวัติการฝึกอบรม
2.1.2 กำหนดผู้รับผิดชอบด้านการอบรมแต่ละหลักสูตรมีความเหมาะสม

(1) ผู้รับผิดชอบในการอบรมจะต้องมีความรู้ในเนื้อหาการอบรม

(2) ผู้รับผิดชอบในการอบรมจะต้องมีหลักฐานแสดงความสามารถ เช่น ประวัติ หรือประสบการณ์ที่เกี่ยวข้อง
ประวัติวิทยากร
  รองศาสตราจารย์ ดร.สยาม อรุณศรีมรกต คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
GL-2.1.1-1 ประวัติวิทยากร

GL-2.1.1-2 ประวัติวิทยากร (เพิ่มเติม)

2.2 การรณรงค์และประชาสัมพันธ์แก่บุคลากร

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน
2.2.1 มีการกำหนดผู้รับผิดชอบและแนวทางสื่อสารเรื่องห้องสมุดสีเขียว

(1) กำหนดหัวข้อและความถี่การสื่อสารอย่างน้อย ดังนี้



(2) กำหนดช่องทางการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับหัวข้อการสื่อสารและองค์กร (ไม่จำกัดจำนวนช่องทาง)

(3) กำหนดกลุ่มเป้าหมายรับเรื่องสื่อสาร

(4) กำหนดผู้รับผิดชอบในการสื่อสาร
(1) กำหนดหัวข้อและความถี่การสื่อสาร
หอสมุดวังท่าพระดำเนินจัดทำแผนการประชาสัมพันธ์ โดยกำหนดหัวข้อและความถี่ดังนี้คือ
1. นโยบายห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียว – ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลง
2. ทรัพยากรสารสนเทศด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมและเรื่องที่เกี่ยวข้อง
3. ความรู้ด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมและเรื่องที่เกี่ยวข้อง
4. กิจกรรมห้องสมุดสีเขียว
5. กิจกรรมเครือข่ายความร่วมมือ

(2) กำหนดช่องทางการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพกับหัวข้อการสื่อสารและองค์กร
หอสมุดวังท่าพระกำหนดช่องทางการสื่อสารโดยเลือกช่องทางที่มีประสิทธิภาพที่สุดของกลุ่มเป้าหมายแต่ละกลุ่มโดยมีช่องทางหลักดังนี้ คือ Line กลุ่มบุคลากรหอสมุดวังท่าพระ, Facebook, Instagram, Website สำนักหอสมุดกลาง และ TV ประชาสัมพันธ์ภายในอาคารหอสมุด

(3) กำหนดกลุ่มเป้าหมายรับเรื่องสื่อสาร
หอสมุดวังท่าพระกำหนดกลุ่มเป้าหมายในการรับเรื่องสื่อสารโดยแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่
– กลุ่มผู้รับสารภายใน คือ บุคลากรหอสมุดวังท่าพระ
– กลุ่มผู้รับสารภายนอก คือ นักศึกษา อาจารย์ บุคลากรมหาวิทยาลัยศิลปากรวังท่าพระ และ ผู้ใช้บริการหอสมุดจากภายนอก

(4) กำหนดผู้รับผิดชอบในการสื่อสาร
หอสมุดวังท่าพระดำเนินการกำหนดผู้รับผิดชอบการสื่อสารด้านสิ่งแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกสำนักงานโดยยึดตามคำสั่งสำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร เลขที่ 0027/2567 เรื่องการแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียว สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร

   สำนักหอสมุดกลางมีการรณรงค์สื่อสารและให้ความรู้ตามแผนการสื่อสารด้านสิ่งแวดล้อมประจำปี 2567 ในหัวข้อต่างๆ ได้แก่ นโยบายสิ่งแวดล้อม ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีนัยสำคัญ การปฏิบัติตามกฎหมาย ความสะอาดและความเป็นระเบียบ 5ส เป้าหมายและมาตรการใช้ทรัพยากร เป้าหมายและมาตรการจัดการของเสียผลการใช้ทรัพยากร พลังงาน ของเสีย สินค้าและบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และปริมาณก๊าซเรือนกระจกโดยได้มีการรณรงค์สื่อสารในหลากกลายช่องทาง เช่น สื่อสิ่งพิมพ์สื่ออิเล็กทรอนิกส์และสื่อบุคคล ซึ่งสามารถ
แสดงหลักฐานการรณรงค์สื่อสาร ดังนี้

   – สื่อสิ่งพิมพ์ : โปสเตอร์

   – สื่ออิเล็กทรอนิกส์ : เว็บไซต์ Social Media: Facebook Group / Line Group
https://lib.su.ac.th/direction-green/

   – สื่อบุคคล : การประชุมฝ่าย/งาน ทั้งรูปแบบปกติและการประชุมออนไลน์และสื่อวิดีโอให้ความรู้ : โปสเตอร์, สติกเกอร์รณรงค์
 - การจัดการพลังงานและการใช้ทรัพยากร
หลักฐาน GL.2.2.1แผนการประชาสัมพันธ์

GL-2.2.1-1 แผนการประชาสัมพันธ์ GREEN ปี 2567

GL-2.2.1-2 การรณรงค์สื่อสารและให้ความรู้ตามแผนการสื่อสาร
2.2.2 มีการรณรงค์สื่อสารและให้ความรู้ตามที่กำหนดในข้อ 2.2.1หอสมุดวังท่าพระดำเนินการรณรงค์ประชาสัมพันธ์ ในหัวข้อ ช่องทางและความถี่ตามแผนที่กำหนดไว้ ดังนี้
1. นโยบายห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียว – ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลง
2. ทรัพยากรสารสนเทศด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมและเรื่องที่เกี่ยวข้อง
3. ความรู้ด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมและเรื่องที่เกี่ยวข้อง
4. กิจกรรมห้องสมุดสีเขียว
5. กิจกรรมเครือข่ายความร่วมมือ

2.2.1 มีการกำหนดผู้รับผิดชอบและแนวทางสื่อสารด้านสิ่งแวดล้อมทั้งภายในและภายนนอกสำนักงาน

(1) กำหนดหัวข้อและความถี่การสื่อสาร เอกสารประกอบ : แผนการสื่อสารด้านสิ่งแวดล้อมประจำปี 2567

(2) กำหนดช่องทางการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพกับหัวข้อการสื่อสารและองค์กร

  - เอกสารแนบ รายงานผลการประชุมการกำหนดและการทบทวนช่องทางการสื่อสารองค์กรด้านสำนักงานสีเขียว
ช่องทางการสื่อสารกับบุคลากร

   1. สื่อสิ่งพิมพ์ : โปสเตอร์

   2. สื่ออิเล็กทรอนิกส์ : เว็บไซต์/ ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ d-Saraban / Social Media : Facebook / Line

   3. สื่อบุคคล : การประชุมฝ่าย/งาน ทั้งรูปแบบปกติและการประชุมออนไลน์

ช่องทางการสื่อสารกับผู้รับบริการ

   1. สื่อสิ่งพิมพ์ : โปสเตอร์

   2. สื่ออิเล็กทรอนิกส์ : เว็บไซต์/ Social Media : Facebook Fanpage

(3) กำหนดกลุ่มเป้าหมายรับเรื่องสื่อสาร (รายงานในแผนการสื่อสารฯ)

(4) กำหนดผู้รับผิดชอบในการสื่อสาร


หลักฐาน GL.2.2.2 การรณรงค์สื่อสารและให้ความรู้ตามที่กำหนดในข้อ-2.2.1

GL-2.2.2-1 รณรงค์สื่อสาร ให้ความรู้
2.2.3 ร้อยละความเข้าใจนโยบายและการดำเนินงานห้องสมุดสีเขียว (สุ่มอย่างน้อย 4 คน) โดยจะต้องสอบถามบุคลากรแต่ละคนอย่างน้อยตามข้อ 2.2.1 (1)ร้อยละความเข้าใจนโยบายสิ่งแวดล้อมและการดำเนินงานสำนักงานสีเขียว (สุ่มอย่างน้อย 4 คน) โดยจะต้องสอบถามบุคลากรแต่ละคนอย่างน้อยตามข้อ 2.2.1 (1)
– ณ วันตรวจประเมิน –
GL-2.2.3-1 ร้อยละความเข้าใจนโยบายสิ่งแวดล้อมและการดำเนินงานสำนักงานสีเขียว (สุ่มอย่างน้อย 4 คน)
2.2.4 มีช่องทางรับข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็นด้านห้องสมุดสีเขียว และนำมาปรับปรุงแก้ไข โดยต้องมีแนวทางดังนี้

(1) มีช่องทางเพื่อรับข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็นด้านห้องสมุดสีเขียว เช่น ไลน์ เว็บไซต์เฟสบุ๊ค อีเมล์ กล่องรับความคิดเห็น และข้อเสนอแนะจากการประชุม

(2) มีผู้รับผิดชอบในการรับข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็น

(3) มีการแสดงข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็นด้านห้องสมุดสีเขียว

(4) มีการรายงานผลการปรับปรุงจากข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็น และเสนอต่อผู้บริหาร
(1) มีช่องทางเพื่อรับข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็นด้านสิ่งแวดล้อม เช่น ไลน์ QR Code การประชุม เว็บไซต์สำนักหอสมุดกลาง เปิดรับข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็นด้านสิ่งแวดล้อม ใน 2 ช่องทางคือ

   1) ช่องทางระบบรับฟังเสียงของลูกค้า หรือ ระบบรับฟังเสียงของลูกค้า (VOC)
ติด QR Code เพื่อรับข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็นด้านสิ่งแวดล้อม ทั้งภายในและภายนอกอาคารสำนักหอสมุดกลาง เพื่ออำนวยความสะดวกในการแจ้งข้อเสนอแนะ

   2) ช่องทาง Line Official สำหรับผู้ใช้บริการ และ Line Group ภายในสำหรับผู้ปฏิบัติงานของสำนักหอสมุดกลาง

จากรายงานการประชุมคณะกรรมการฯ ทุกครั้งในการประชุมรายงานผล

– ไม่พบข้อร้องเรียน –

ฟอร์มรับข้อเสนอแนะด้านสิ่งแวดล้อม สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร (Suggestion e-Form SU GREEN LIBRARY)
GL-2.2.4-1 ช่องทางรับข้อเสนอแนะ ข้อคิดเห็นด้านห้องสมุดสีเขียว

GL-2.2.4-2 Flowchart การจัดการข้อเสนอแนะด้านสิ่งแวดล้อม

3.1 จัดการทรัพยากรสารสนเทศด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ให้เพียงพอและพร้อมใช้

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน
3.1.1 จัดหาทรัพยากรสารสนเทศด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมและเรื่องที่เกี่ยวข้อง โดยดำเนินการดังนี้

(1) สำรวจความต้องการของผู้รับบริการ
(2) จัดหาทรัพยากรสารสนเทศได้ตรงตามความต้องการ และสอดคล้องกับนโยบายของห้องสมุด
(3) ทรัพยากรสารสนเทศมีความทันสมัย
(4) ทรัพยากรสารสนเทศมีความหลากหลายเหมาะสมกับผู้รับบริการแต่ละกลุ่ม
(1) หอสมุดฯ ได้มีการสำรวจความต้องการใช้ทรัพยากรด้านสิ่งแวดล้อมทั้งหมด 3 ครั้ง ได้แก่ ครั้งที่ 1 สำรวจในกิจกรรมเปิดบ้านหอสมุดวังท่าพระ วันที่ 8-10 กรกฎาคม 2567 จำนวน 190 คน ครั้งที่ 2 จากนักเรียนโรงเรียนโพธิสารพิทยากร วันที่ 2 สิงหาคม 2567 จำนวน 82 คน และครั้งที่ 3 จากนักเรียนโรงเรียนสามเสนวิทยาลัย วันที่ 30 กันยายน 2567 จำนวน 32 คน ตามเอกสาร GL3-1-01-การสำรวจความต้องการใช้ทรัพยากร


(2)-(4) หอสมุดฯ ได้รวบรวมทรัพยากรสารสนเทศที่ตรงตามความต้องการ และสอดคล้องกับนโยบายห้องสมุด โดยแบ่งประเภทของกลุ่มผู้ใช้บริการเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่กลุ่มผู้ใช้ที่เป็นสมาชิกมหาวิทยาลัยศิลปากร เช่น นักศึกษา อาจารย์ และบุคลากร และกลุ่มผู้ใช้ที่ไม่ได้เป็นสมาชิกมหาวิทยาลัยศิลปากร โดยรวบรวมไว้ตามเอกสาร GL3-1-02-รายชื่อทรัพยากรตามกลุ่มเป้าหมาย
GL3-1-01-การสำรวจความต้องการใช้ทรัพยากร

GL3-1-02-รายชื่อทรัพยากรตามกลุ่มเป้าหมาย
3.1.2 ปริมาณทรัพยากรสารสนเทศด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม และเรื่องที่เกี่ยวข้อง เพิ่มขึ้นทุกปี อย่างน้อยปีละ 100 รายชื่อหอสมุดฯ ได้รวบรวมทรัพยากรสารสนเทศด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมและเรื่องที่เกี่ยวข้องโดยแยกตามปีที่จัดหา ไว้ตามเอกสารGL3-1-03-รายชื่อทรัพยากรสารสนเทศ100รายชื่อGL3-1-03-รายชื่อทรัพยากรสารสนเทศ100รายชื่อ
3.1.3 จัดเตรียมทรัพยากรสารสนเทศด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมและเรื่องที่เกี่ยวข้อง ให้พร้อมใช้และสามารถค้นคืนได้โดยง่าย ดังนี้

(1) มีการจัดหมวดหมู่ กำหนดคำสำคัญและคำศัพท์เฉพาะ เพื่อความ
สะดวกในการสืบค้น
(2) ลงรายการบรรณานุกรมและบันทึกข้อมูล หรือจัดทำรายชื่อเพื่อให้
สะดวกต่อการค้นหา
(3) จัดเตรียมทรัพยากรสารสนเทศให้พร้อมสำหรับให้บริการ
(4) ผู้รับบริการสามารถสืบค้นและเข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศได้โดยง่าย
(1)-(2) หอสมุดฯ ได้รวบรวมรายชื่อทรัพยากรสารสนเทศที่เกี่ยวข้อง พร้อมให้คำสำคัญ คำศัพท์เฉพาะ โดยหนังสือภาษาไทยจะให้คำสำคัญเป็นคำว่า สิ่งแวดล้อม และหนังสือภาษาอังกฤษจะให้คำสำคัญว่า Environment เพื่อการค้นหาง่ายจากระบบห้องสมุดอัตโนมัติ ตามเอกสารGL3-1-04-รายชื่อทรัพยากรสารสนเทศจากWebOPAC

(3)-(4) หอสมุดฯ ได้รวบรวมรายชื่อทรัพยากรสารสนเทศที่เกี่ยวข้องและพร้อมให้บริการที่มุมหนังสือ SU GREEN LIBRARY ตามเอกสาร GL3-1-05-รายการหนังสือมุม GREEN
GL3-1-04-รายชื่อทรัพยากรสารสนเทศจากWebOPAC

GL3-1-05-รายการหนังสือมุม GREEN

3.2 การให้บริการห้องสมุดที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน
3.2.1 ส่งเสริมการให้บริการและการใช้ทรัพยากรสารสนเทศด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมและเรื่องที่เกี่ยวข้อง ดังนี้

(1) ประชาสัมพันธ์บริการ และแนะนำทรัพยากรสารสนเทศผ่านช่องทาง
ต่างๆ ถึงผู้รับบริการ และหน่วยงานเครือข่ายความร่วมมือ
(2) ตรวจสอบสภาพและจัดการทรัพยากรสารสนเทศให้พร้อมบริการอยู่เสมอ
(3) จัดทำสถิติการยืมหรือการใช้ประโยชน์ทรัพยากรสารสนเทศ
(4) นำนวัตกรรมหรือเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้เพื่อส่งเสริมการให้บริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
(1) หอสมุดฯ ได้มีการประชาสัมพันธ์ทรัพยากรสารสนเทศทั้งรูปแบบหนังสือ บทความวารสาร มุม SU GREEN LIBRARY ในช่องทางการให้บริการของหอสมุดฯ ตามเอกสาร GL3-2-06-ผลการให้บริการช่องทางPR

(2) หอสมุดฯ ได้มีการตรวจสอบความพร้อมด้านทรัพยากรสารสนเทศทั้งในรูปแบบตัวเล่มและรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์รายสัปดาห์ เริ่มตั้งแต่ช่วงเดือนกรกฎาคม 2567 ซึ่งเป็นช่วงเปิดภาคการศึกษา ตามเอกสาร GL3-2-07-การตรวจสอบสภาพทรัพยากร โดยมีการนำคอมพิวเตอร์มาให้บริการสำหรับทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์ จัดวางไว้ในมุม Green Library บางสถานการณ์อาจต้องมีการบริหารพื้นที่สำหรับจัดนิทรรศการอาจต้องมีการนำคอมพิวเตอร์ออกในบางช่วง ทั้งนี้กรณีที่ผู้ตรวจสอบพบว่าคอมพิวเตอร์เครื่องที่ให้บริการมีปัญหาในการใช้งาน ทางหอสมุดฯ ก็ได้มีการจัดเตรียม Laptop สำรองเพื่อให้บริการแทนต่อไป

(3) หอสมุดฯ ได้มีการจัดทำสถิติการยืมหรือการใช้ประโยชน์ของทรัพยากรสารสนเทศด้านสิ่งแวดล้อม ตามเอกสาร GL3-2-08-สถิติการยืมหรือการใช้ประโยชน์


(4) หอสมุดฯ ได้มีการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อส่งเสริมการให้บริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมโดยการนำเครื่องคอมพิวเตอร์มาให้บริการที่มุมหนังสือ SU GREEN LIBRAARY รวมถึงการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีรหัสคิวอาร์ หรือ QR Code เพื่อการเข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศ ตามเอกสารGL3-2-09-การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี
GL3-2-06-ผลการให้บริการช่องทางPR

GL3-2-07-การตรวจสอบสภาพทรัพยากร

GL3-2-08-สถิติการยืมหรือการใช้ประโยชน์

GL3-2-09-การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี
3.2.2 จัดพื้นที่บริการ ให้สอดคล้องกับการเป็นห้องสมุดสีเขียว ดังนี้

(1) สะอาด สวยงาม เป็นระเบียบ
(2) ปลอดภัย

(3) ประหยัดพลังงานและทรัพยากร
(4) จัดพื้นที่บริการโดยสอดแทรกความรู้ และแนวคิดการให้บริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
(1)-(2) หอสมุดฯ ได้มีการจัดพื้นที่ให้บริการทรัพยากรสารสนเทศด้านสิ่งแวดล้อมและความยั่งยืนโดยจัดให้มีความสะอาด สวยงาม และเป็นระเบียบ รวมถึงมีความปลอดภัยโดยได้มีการจัดทำแผนการจัดการพื้นที่บริการ ตามเอกสาร GL3-2-10-แผนการจัดการพื้นที่บริการ

(3) หอสมุดฯ มีผลการดำเนินงานพร้อมภาพประกอบการจัดพื้นที่บริการทรัพยากรสารสนเทศด้านสิ่งแวดล้อมและความยั่งยืน ตามเอกสาร (GL-3-2-11-ผลการดำเนินงาน-ภาพประกอบ)

(4) หอสมุดฯ มีผลการประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการโดยใช้ Rating Star ความพึงพอใจการใช้พื้นที่หอสมุดฯ ตามเอกสาร GL3-2-12-ความพึงพอใจการใช้พื้นที่หอสมุด
GL3-2-10-แผนการจัดการพื้นที่บริการ

(GL-3-2-11-ผลการดำเนินงาน-ภาพประกอบ)

GL3-2-12-ความพึงพอใจการใช้พื้นที่หอสมุด

4.1 การจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้รับบริการ บุคลากร และผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน
4.1.1 จัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านและส่งเสริมการเรียนรู้ด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ให้กับกลุ่มเป้าหมาย ในเรื่องต่อไปนี้

(1) การประหยัดพลังงานไฟฟ้า และการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงานไฟฟ้า

(2) การประหยัดน้ำและการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า
(3) การคัดแยกและใช้ประโยชน์จากขยะหรือวัสดุเหลือใช้ การจัดการของเสียและมลพิษ
(4) ก๊าซเรือนกระจก
ฝ่ายหอสมุดวังท่าพระได้กำหนดแผนการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านเพื่อการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม 2567 เพื่อส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ด้านการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม ให้กับกลุ่มเป้าหมาย บุคลากร ผู้รับบริการ และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องตามหัวข้อ (1)-(4) เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจและความตระหนักรู้เกี่ยวกับการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม และได้จัดทำรายงานผลการดำเนินงานกิจกรรมส่งเสริมการอ่านและกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้SUT(GL-4.1.1-1)แผนงานจัดกิจกรรม

SUT(GL-4.1.1-2)รายงานผลการดำเนินงาน
4.1.2 การมีส่วนร่วมของกลุ่มเป้าหมาย ในกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ดังนี้

(1) ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีจำนวนมากกว่าร้อยละ 80 ของเป้าหมายที่กำหนด
(2) กลุ่มเป้าหมายมีส่วนร่วมในการออกแบบกิจกรรม
(3) กลุ่มเป้าหมายมีส่วนร่วมในการสรุปผลกิจกรรมและการนำไปใช้ประโยชน์

(4) มีการจัดทำใบประกาศหรือใบรับรองให้กับผู้เข้าร่วมกิจกรรมตามเงื่อนไขที่ห้องสมุดกำหนด
ฝ่ายหอสมุดวังท่าพระได้จัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมให้กับผู้รับบริการ บุคลากร และผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง อย่างต่อเนื่องตามแผนงานจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านและส่งเสริมการเรียนรู้ด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ภายใต้ชื่อกิจกรรม “พี่ชวนกรีน” โดยแต่ละกิจกรรมจะมีการกำหนดกลุ่มเป้าหมายของผู้เข้าร่วมกิจกรรม ตลอดจนผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีส่วนร่วมในการออกแบบกิจกรรม และร่วมสรุปผลแนวทางการนำไปใช้ประโยชน์ อีกทั้งฝ่ายหอสมุดวังท่าพระได้จัดทำใบรับรองการเข้าร่วมกิจกรรมในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ ตามเงื่อนไขที่หอสมุดวังท่าพระกำหนดในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ SUT(GL-4.1.2)การมีส่วนร่วมของกลุ่มเป้าหมาย
4.1.3 ความถี่และความสม่ำเสมอในการจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ของห้องสมุดสีเขียว ฝ่ายหอสมุดวังท่าพระได้ดำเนินการจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมในปี 2567 (รอบปีดำเนินงาน) ภายใต้ชื่อกิจกรรม “พี่ชวนกรีน” จัดกิจกรรมในรูปแบบส่งเสริมการเรียนรู้ผ่านภาพ Infographic และ Workshop ดำเนินการจัดกิจกรรมตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ – ตุลาคม 2567 รวม 5 ครั้ง โดยมีรายละเอียดดังนี้
1. พี่ชวนกรีน ครั้งที่ 1/2567 – โครงการเปิดวังมหกรรมหนังสือสื่อสร้างสรรค์ (Creative Matters & art book fair 2024) ภายใต้บูธ Tree Sharing
2. พี่ชวนกรีน ครั้งที่ 2/2567 – วันสิ่งแวดล้อมโลก (World Environment Day)
3. พี่ชวนกรีน ครั้งที่ 3/2567 – Open House เปิดบ้านหอสมุดวังท่าพระ
4. พี่ชวนกรีน ครั้งที่ 4/2567 – ชวนพี่ท่าพระรักษ์สิ่งแวดล้อม
5. พี่ชวนกรีน ครั้งที่ 5/2567 – Workshop DIY by พี่ชวนกรีน ตอนที่คั่นหนังสือจากฝาขวดน้ำพลาสติก
SUT(GL-4.1.3)รายการกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้
4.1.4 จัด Green Corner หรือพื้นที่ส่งเสริมการเรียนรู้ของห้องสมุดสีเขียว โดยแสดงข้อมูลต่อไปนี้และมีการปรับปรุงข้อมูลเป็นประจำทุกเดือนเป็นอย่างน้อย

(1) นโยบายห้องสมุดสีเขียว และสำนักงานสีเขียว (ปรับปรุงข้อมูลเมื่อมีการเปลี่ยนแปลง)
(2) ข่าวสาร กิจกรรม มาตรการ ด้านการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อมของห้องสมุด
(3) ผลการดำเนินงานห้องสมุดสีเขียว และแสดงข้อมูลประสิทธิภาพการใช้ พลังงานไฟฟ้า ผลการประหยัดน้ำ การประหยัดทรัพยากร และปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
(4) สื่อความรู้ และเอกสารเผยแพร่ที่เกี่ยวข้องกับทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
ฝ่ายหอสมุดวังท่าพระได้ดำเนินการจัดพื้นที่ส่งเสริมการเรียนรู้ของห้องสมุดสีเขียวมีชื่อว่า “SU Green Library” ณ บริเวณชั้น 1 หอสมุดวังท่าพระ โดยแสดงข้อมูลนโยบายห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียว มาตรการด้านการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อมของสำนักหอสมุด แสดงผลการดำเนินงานและแสดงข้อมูลประสิทธิภาพการใช้พลังงานไฟฟ้า ผลการประหยัดน้ำ การประหยัดทรัพยากร และปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก อีกทั้งข่าวสาร กิจกรรม สื่อความรู้ ผ่านคอมพิวเตอร์ที่แสดงหน้าเว็บไซต์ https://lib.su.ac.th/green-library/

และหัวข้อเพิ่มเติม (5) สื่อความรู้ด้านวัสดุเพื่อความยั่งยืน เพื่อให้สอดคล้องกับคณะวิชาที่มีการเรียนการสอนในมหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ
SUT(GL-4.1.4)พื้นที่ส่งเสริมการเรียนรู้ SU Green Library

4.2 ประเมินผลการเรียนรู้

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน
4.2.1 ร้อยละของจำนวนกิจกรรมที่มีการประเมินผลการเรียนรู้ ด้านการวัดความรู้ฝ่ายหอสมุดวังท่าพระได้จัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านและส่งเสริมการเรียนรู้ (รอบปีดำเนินงาน) โดยมีการประเมินผลการเรียนรู้ด้านการวัดความรู้ ความเข้าใจด้วยแบบทดสอบและการเปรียบเทียบความรู้ก่อนและหลังการร่วมกิจกรรม มีการประเมินผลการเรียนรู้ 4 กิจกรรมจากทั้งหมด 5 กิจกรรม คิดเป็นร้อยละ 80 ของกิจกรรมที่จัดทั้งหมด ตามรายงานประเมินผลการเรียนรู้ด้านการวัดความรู้รายกิจกรรมSUT(GL-4.2.1)รายงานประเมินผลการเรียนรู้รายกิจกรรม
4.2.2 ร้อยละของจำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมที่ผ่านการประเมินผลการเรียนรู้ ด้านการวัดความรู้จากการเข้าร่วมกิจกรรม (เกณฑ์การวัดความรู้ พิจารณาจากคะแนนผ่านที่ร้อยละ 60)ฝ่ายหอสมุดวังท่าพระได้สรุปผลการทดสอบความรู้จากการร่วมกิจกรรมใน (รอบปีดำเนินงาน) เป็นรายบุคคลและแสดงค่าร้อยละของจำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมที่ผ่านการประเมินผลการเรียนรู้ ด้านการวัดความรู้จากการเข้าร่วมกิจกรรม เกณฑ์การวัดความรู้ พิจารณาจากคะแนนผ่านที่ร้อยละ 60 ผลสรุปมีผู้ที่เข้าร่วมกิจกรรมผ่านการประเมิน คิดเป็นร้อยละ 99.30 ตามรายงานประเมินผลการเรียนรู้ด้านการวัดความรู้รายกิจกรรมและผลการทดสอบรายบุคคลSUT(GL-4.2.2)รายงานประเมินผลการเรียนรู้และผลการทดสอบรายบุคคล
4.2.3 ร้อยละของจำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมที่มีผลประเมินด้านพฤติกรรมในเชิงบวกหลังเข้าร่วมกิจกรรม โดยจัดกิจกรรมกับกลุ่มเป้าหมาย อย่างน้อย 2 กลุ่ม คือ กลุ่มบุคลากร และกลุ่มผู้รับบริการหรือผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง หอสมุดวังท่าพระได้ประเมินผลด้านพฤติกรรมในเชิงบวกหลังเข้าร่วมกิจกรรมของกลุ่มเป้าหมาย ซึ่งผู้จัดกิจกรรมได้สังเกตและสอบถามรายบุคคล ได้เห็นพฤติกรรมมีการเปลี่ยนแปลงในเชิงบวก ตามรายงานผลประเมินด้านพฤติกรรมเชิงบวก
โดยเลือก 2 กิจกรรม ดังนี้
พี่ชวนกรีน 4/2567 – ชวนพี่ท่าพระรักษ์สิ่งแวดล้อม
กลุ่มเป้าหมาย : กลุ่มบุคลากรหอสมุดวังท่าพระ
พี่ชวนกรีน 5/2567 – Workshop DIY by พี่ชวนกรีน ตอนที่คั่นหนังสือจากฝาขวดน้ำพลาสติก
กลุ่มเป้าหมาย : บุคลากร ผู้รับบริการ และผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง
SUT(GL-4.2.3)รายงานผลประเมินด้านพฤติกรรมเชิงบวก
4.2.4 การปรับปรุงกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่อง ดังนี้

(1) สรุปผลการจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ทั้งหมดในรอบปี
(2) มีการวิเคราะห์ปัญหา และผลประเมินการเรียนรู้เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการพัฒนากิจกรรม
(3) จัดทำแผนปรับปรุงและพัฒนากิจกรรม
(4) จัดทำรายงานผลการจัดกิจกรรมเสนอผู้บริหารและผู้เกี่ยวข้อง
หอสมุดวังท่าพระได้จัดทำสรุปผลการจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ในรอบปีดำเนินงานและรายงานผลการดำเนินงานรวมถึงผลการจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ตลอดจนวิเคราะห์ปัญหาและข้อเสนอแนะ เพื่อรายงานความคืบหน้าผ่านการประชุมคณะกรรมการพัฒนาห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียว สำนักหอสมุดกลาง ประจำเดือน เพื่อนำมาใช้เป็นข้อมูลเพื่อวางแผนปรับปรุงและพัฒนากิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ต่อไปSUT(GL-4.2.4)สรุปผลการจัดกิจกรรมในรอบปี 2567

5.1 หน่วยงานความร่วมมือ

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน
5.1.1 มีความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับด้านการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม ดังนี้

(1) เครือข่ายห้องสมุดสีเขียว

(2) ชมรมห้องสมุดสีเขียว

(3) หน่วยงานภายในองค์กร

(4) หน่วยงานภายนอกองค์กร
(1) ฝ่ายหอสมุดวังท่าพระเข้าร่วมเป็นเครือข่ายห้องสมุดสีเขียว โดยการสมัครสมาชิกจากสมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทยฯ

(2) ฝ่ายหอสมุดวังท่าพระเป็นสมาชิกชมรมห้องสมุดสีเขียว โดยการสมัครสมาชิกจากสมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทยฯ

(3) ผู้ช่วยศาสตราจารย์เชาว์วัฒน์ กิตติธรกุล รองผู้อำนวยการสำนักหอสมุดกลางฝ่ายบริหาร และเป็นประธานคณะดำเนินงานห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียว พร้อมด้วยคณะกรรมการฯ ได้เข้าศึกษาดูงาน สำนักงานสีเขียว (Green Office) คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร เมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2567 เวลา 09.00 – 12.00 น. ได้รับการต้อนรับเป็นอย่างดี จาก ศ.ดร.ภก. พรศักดิ์ ศรีอมรศักดิ์ คณบดีคณะเภสัชศาสตร์ พร้อมด้วยรองคณบดีฝ่ายการจัดการทรัพยากรเพื่อความยั่งยืน และสำนักงานคณบดีคณะเภสัชศาสตร์ ซึ่งคณะเภสัชศาสตร์ผ่านการประเมินสำนักงานสีเขียว ประจำปี 2566 ในระดับดีเยี่ยม (เหรียญทอง) จากกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมศึกษาดูงานสำนักงานสีเขียวคณะเภสัชศาสตร์

(4) หน่วยงานภายนอกองค์กร
  - ศึกษาดูงาน Zero Waste ชุมชนบ้านรางพลับ จ.ราชบุรี
รองผู้อำนวยการสำนักหอสมุดกลางฝ่ายบริหาร และเป็นประธานคณะดำเนินงานห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียว พร้อมด้วยคณะกรรมการฯ ศึกษาดูงานในวันที่ 26 มีนาคม 2567 ณ ศูนย์การเรียนรู้ชุมชนปลอดขยะ (Zero Waste) ชุมชนบ้านรางพลับ จังหวัดราชบุรี เพื่อให้คณะทำงานพัฒนาห้องสมุดสีเขียวของสำนักหอสมุดกลาง ได้ศึกษาดูงานและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านการจัดการขยะ ที่ชุมชนบ้านรางพลับ อำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี ซึ่งเป็นชุมขนต้นแบบของหมู่บ้านปลอดขยะ (Zero Waste) จนได้รับรางวัลระดับประเทศ
  - ศึกษาดูงานและแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงานห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียว สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบุรี
ผู้ช่วยศาสตราจารย์เชาว์วัฒน์ กิตติธรกุล รองผู้อำนวยการสำนักหอสมุดกลางฝ่ายบริหาร พร้อมด้วยคณะทำงานห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียว ศึกษาดูงาน ณ สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี เมื่อวันอังคารที่ 18 มิถุนายน 2567 ได้รับการตอนรับเป็นอย่างดี จาก อาจารย์ปิยวรรณ คุสินธุ์ ผู้อำนวยการสำนักวิทยบริการฯ พร้อมด้วยบุคลากรสำนักวิทยบริการฯ ในการศึกษาดูงานครั้งนี้ สำนักหอสมุดกลาง ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงานขององค์กรที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม การดำเนินงานด้านห้องสมุดสีเขียว (Green Library) และสำนักงานสีเขียว (Green Office)
GL-5.1.1-1 หลักฐานการการสมัครเครือข่ายความร่วมมือห้องสมุดสีเขียว

GL-5.1.1-2 หลักฐานการลงนามความร่วมมือเครือข่ายห้องสมุดสีเขียว

GL-5.1.1-3 เอกสารเชิญเข้าร่วมการประชุมผู้บริหารเครือข่ายห้องสมุดสีเขียว และพิธีลงนามความร่วมมือเครือข่ายห้องสมุดสีเขียว

GL-5.1.1-4 Poster การประชุมผู้บริหารเครือข่ายห้องสมุดสีเขียว และพิธีลงนามความร่วมมือเครือข่ายห้องสมุดสีเขียว

GL-5.1.1-5 รายละเอียดการประชุมผู้บริหารเครือข่ายห้องสมุดสีเขียว และพิธีลงนามความร่วมมือเครือข่ายห้องสมุดสีเขียว

GL-5.1.1-6 ความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับด้านการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม


5.1.2 มีความร่วมมือในการดำเนินงานห้องสมุดสีเขียว ร่วมกับหน่วยงานด้านนโยบาย/การบริหาร หน่วยงานด้านกายภาพ ด้านวิจัย และด้านการศึกษา ดังนี้

(1) หน่วยงานด้านนโยบาย/บริหารหรือ หน่วยบริหารงานกลาง เพื่อประสานความร่วมมือด้านนโยบาย แผนงาน งบประมาณ การจัดซื้อจัดจ้าง การจัดการขยะ เป็นต้น

(2) หน่วยงานด้าน กายภาพ เพื่อประสานความร่วมมือด้านอาคาร สถานที่ ระบบงานไฟฟ้า ระบบงานอาคาร ระบบบำบัดน้ำเสีย เป็นต้น

(3) หน่วยงานวิจัย เพื่อประสานความร่วมมือในการนำเทคโนโลยีหรือผลงานวิจัยมาประยุกต์ใช้เพื่อการพัฒนาห้องสมุดสีเขียว

(4) หน่วยงานด้านการศึกษา หรือหน่วยการเรียนการสอน เพื่อประสานความมือในการส่งเสริมการเรียนรู้เรื่องทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
(1) หน่วยงานด้านนโยบาย/บริหารหรือ หน่วยบริหารงานกลาง เพื่อประสานความร่วมมือด้านนโยบาย แผนงาน งบประมาณ การจัดซื้อจัดจ้าง การจัดการขยะ เป็นต้น
  - เป็นคณะกรรมการชีวอนามัย ของมหาวิทยาลัยศิลปากร

(2) หน่วยงานด้าน กายภาพ เพื่อประสานความร่วมมือด้านอาคาร สถานที่ ระบบงานไฟฟ้า ระบบงานอาคาร ระบบบำบัดน้ำเสีย เป็นต้น
  ชื่อหน่วยงาน
    - คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
  รายละเอียดการดำเนินงาน
    - การตรวจวิเคราะห์ค่าบำบัดน้ำเสีย
    - การวัดค่าแสง

(3) หน่วยงานวิจัย เพื่อประสานความร่วมมือในการนำเทคโนโลยีหรือผลงานวิจัยมาประยุกต์ใช้เพื่อการพัฒนาห้องสมุดสีเขียว
  ชื่อหน่วยงาน
    - มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ Walailak University
  รายละเอียดการดำเนินงาน
    - ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ WALAI AutoLIB
    - การจัดซื้อโปรแกรมจัดการฐานข้อมูล Oracle Database เพื่อรองรับระบบห้องสมุดอัตโนมัติ WALAI AutoLIB

(4) หน่วยงานด้านการศึกษา หรือหน่วยการเรียนการสอน เพื่อประสานความมือในการส่งเสริมการเรียนรู้เรื่องทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
  ชื่อหน่วยงาน
    - คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
    - ภาควิชาสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยศิลปากร
  รายละเอียดการดำเนินงาน
    เชิญ รองศาสตราจารย์ ดร.สยาม อรุณศรีมรกต คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ให้ความรู้กับบุคลากร เรื่องทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
2 โครงการ ดังนี้
    1. สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดโครงการอบรม Go Go SU GREEN LIBRARY เพื่อให้เป็นไปตามนโยบายของสำนักหอสมุดกลาง เห็นควรจัดโครงการอบรมให้ความรู้กับบุคลากรด้านห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียว เพื่อให้บุคลากรตระหนักถึงการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องดังกล่าว นำไปปรับใช้ในการดำเนินงานและในชีวิตประจำวันรวมถึงมีส่วนร่วมในการผลักดันให้ สำนักหอสมุดกลางเป็นห้องสมุดสีเขียวที่มีสภาพแวดล้อมที่น่าอยู่ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและมีการพัฒนาที่ยั่งยืนต่อไป โดย รศ.ดร.สยาม อรุณศรีมรกต คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ ม.มหิดล วันที่ 23 กรกฎาคม 2567 เวลา 09.00-16.30 น. ณ ห้องประชุม 1 ชั้น 5 อาคารหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ และผ่านระบบออนไลน์โปรแกรม Zoom วิทยาเขตวังท่าพระและวิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี
    2. สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดโครงการอบรมการให้ความรู้เรื่องการระบุและประเมินปัญหาสิ่งแวดล้อม เพื่อให้เป็นไปตามนโยบายของสำนักหอสมุดกลาง เห็นควรจัดโครงการอบรมให้ความรู้ กับบุคลากรด้านห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียว เพื่อให้บุคลากรตระหนักถึงการอนุรักษ์พลังงาน และสิ่งแวดล้อม มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการระบุและประเมินปัญหาสิ่งแวดล้อม โดย รศ.ดร.สยาม อรุณศรีมรกต คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ ม.มหิดล วันที่ 8 ตุลาคม 2567 เวลา 08.30-16.30 น. ณ ห้องประชุม 1 ชั้น 5 อาคารหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์
GL-5.1.2-1 มีความร่วมมือในการดำนเนินงานฯ

GL-5.1.2-2 บันทึกข้อความ เรื่อองการแต่งตั้งคณะกรรมการชีวอนามัย

5.2 กิจกรรมความร่วมมือ

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน
5.2.1 กิจกรรมความร่วมมือด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม มีดังนี้

(1) เข้าร่วมกิจกรรมที่หน่วยงานความร่วมมือจัด

(2) จัดกิจกรรมและเชิญหน่วยงานความร่วมมือเข้าร่วม

(3) เป็นวิทยากรหรือเป็นพี่เลี้ยงให้กับหน่วยงานอื่น

(4) เป็นสถานที่ศึกษาดูงานด้านห้องสมุดสีเขียว
(1) เข้ารับอบรมมาตรฐานและเกณฑ์ Green Library และ Green Office จัดโดยชมรมห้องสมุดสีเขียว วันที่ 26 มกราคม 2567 9.00-12.00 น. ผ่านทางระบบออนไลน์ Zoom

(2) ยังไม่มีการดำเนินงาน (เนื่องจากยังอยู่ในระหว่างการขอเข้ารับประเมินเป็นครั้งแรก)

(3) ยังไม่มีการดำเนินงาน (เนื่องจากยังอยู่ในระหว่างการขอเข้ารับประเมินเป็นครั้งแรก)

(4) ยังไม่มีการดำเนินงาน (เนื่องจากยังอยู่ในระหว่างการขอเข้ารับประเมินเป็นครั้งแรก)
GL-5.2.1-1 กิจกรรมความร่วมมือด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
5.2.2 จำนวนหน่วยงานต่อปี ที่ได้รับการขยายผลการจัดกิจกรรมห้องสมุดสีเขียว เช่น โรงเรียน ชุมชน หรือหน่วยงานต่างๆยังไม่มีการดำเนินงาน (เนื่องจากยังอยู่ในระหว่างการขอเข้ารับประเมินเป็นครั้งแรก)GL-5.2.2-1 กิจกรรมความร่วมมือด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม

Edit Template
1.1 การกำหนดนโยบายห้องสมุดสีเขียว

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน
1.1.1 มีบริบทองค์กรและขอบเขตของการบริหารจัดการห้องสมุดที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

(1) มีการกำหนดขอบเขตพื้นที่ของห้องสมุดทั้งหมด ทั้งส่วนของสำนักงาน และพื้นที่บริการ
(2) มีการกำหนดขอบเขตกิจกรรมของห้องสมุด
หอสมุดมีการกำหนดขอบเขตพื้นที่อย่างชัดเจน ทั้งพื้นที่ใช้งานรอบอาคารหอสมุดตามเอกสารและพื้นที่ภายในอาคาร และหอสมุดได้ทำการกำหนดจัดทำขอบเขตกิจกรรมของห้องสมุด โดยเน้นประโยชน์แก่ผู้รับบริการเป็นหลัก ทั้งในแง่ของความสะดวก รวดเร็วในการให้บริการ สภาพแวดล้อมที่สะอาดปลอดภัย โดยยังคงประสิทธิภาพในการทำงานของเจ้าหน้าที่ และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
1.1.2 มีนโยบายห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียวที่สอดคล้องและครอบคลุมประเด็นตามเกณฑ์ห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียว โดยแสดงความมุ่งมั่นอย่างต่อเนื่อง ในด้านห้องสมุด และด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ดังนี้

ด้านห้องสมุด
(1) มีนโยบายการ บริหารจัดการห้องสมุดสีเขียวและการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
(2) มีนโยบายการจัดการและให้บริการทรัพยากรสารสนเทศด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมและเรื่องที่เกี่ยวข้องให้เพียงพอ และพร้อมใช้
(3) มีนโยบายส่งเสริมการเรียนรู้ด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมและเรื่องที่เกี่ยวข้อง
(4) มีนโยบายการสร้างเครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน

ด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม

(รายละเอียดเป็นไปตามเกณฑ์การประเมินสำนักงานสีเขียว)
ผู้บริหารฯได้ประกาศนโยบายพัฒนาสำนักหอสมุดกลางสู่ห้องสมุดสีเขียว เมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม 2566 โดยมีรายละเอียดของนโยบายที่ครอบคลุมทั้งในด้านการประหยัดพลังงาน การส่งเสริมการเข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศที่เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม และการสร้างเครือข่ายความร่วมมือ โดยกำหนดให้บุคลากรในหน่วยงานทุกคนมีส่วนในการร่วมผลักดันนโยบายนี้GL-1.1.2-1 นโยบายพัฒนาสำนักหอสมุดกลางสู่ห้องสมุดสีเขียว
1.1.3 การกำหนดนโยบายห้องสมุดสีเขียว โดยผู้บริหารระดับสูง

(1) นโยบายห้องสมุดสีเขียวจะต้องได้รับการอนุมัติจากผู้บริหารสูงสุด หรือผู้
ที่ได้รับมอบอำนาจ
(2) มีการระบุวันที่การประกาศใช้นโยบายห้องสมุดสีเขียวอย่างชัดเจน
(3) ผู้บริหารหรือผู้มีอำนาจจะต้องสามารถอธิบายถึงวัตถุประสงค์และ
จุดมุ่งหมายของการเป็นห้องสมุดสีเขียว
(4) ผู้บริหารหรือผู้มีอำนาจจะต้องมีส่วนในการติดตามผลการปฏิบัติตาม
นโยบายห้องสมุดสีเขียว
นโยบายพัฒนาสำนักหอสมุดกลางสู่ห้องสมุดสีเขียว ได้รับการอนุมัติจากผู้บริหารโดยมีวันประกาศระบุไว้อย่างชัดเจน คือวันที่ 31 พฤษภาคม 2566 ทั้งนี้ผู้บริหารมีส่วนร่วมในการติดตามผลการปฎิบัติงานผ่านการประชุมคณะกรรมการพัฒนาห้องสมุดสีเขียวเป็นประจำทุกเดือน โดยมีรองผู้อำนวยการ สำนักหอสมุดกลางฝ่ายบริหารเป็นประธานในที่ประชุมGL-1.1.3-1 นโยบายพัฒนาสำนักหอสมุดกลางสู่ห้องสมุดสีเขียว
1.1.4 มีการกำหนดแผนการดำเนินงานห้องสมุดสีเขียวประจำปี

(1) รายละเอียดของแผนจะต้องระบุการดำเนินงานครบทุกหมวด
(2) มีการกำหนดเวลาหรือความถี่ของการดำเนินงานแต่ละหมวด
(3) มีการกำหนดแผนดำเนินงานเป็นลายลักษณ์อักษร และได้รับการอนุมัติจากผู้บริหาร
สำนักหอสมุดกลางมีการกำหนดแผนการดำเนินงานห้องสมุดสีเขียว ประจำปี 2567 โดย กำหนดให้บุคลากรทุกคนมีส่วนร่วมในการรับผิดชอบตามแผน มีการกำหนดความถี่ในการดำเนินงานแต่ละหมวดตามความเหมาะสม และแผนดังกล่าวได้รับการอนุมัติจากผู้บริหารสำนักหอสมุดกลางเป็นที่เรียบร้อย
1.1.5 มีการกำหนดเป้าหมาย และตัวชี้วัดที่ชัดเจนด้านห้องสมุด (ตามเกณฑ์ห้องสมุดสีเขียว) และมีหลักฐานการลงนามอนุมัติและวันที่ประกาศใช้อย่างชัดเจนและเป็นปัจจุบัน ดังนี้

(1) การจัดการและการให้บริการทรัพยากรสารสนเทศ ด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
(2) การส่งเสริมการเรียนรู้เรื่องทรัพยากร สิ่งแวดล้อม และก๊าซเรือนกระจก
(3) การจัดกิจกรรมห้องสมุดสีเขียวร่วมกับเครือข่ายความร่วมมือ
(4) ความพึงพอใจของผู้รับบริการห้องสมุดสีเขียว
สำนักหอสมุดกลางมีการกำหนดเป้าหมายด้านห้องสมุด ประจำปี พ.ศ.2567 ที่มีความสอดคล้องกับเกณฑ์ห้องสมุดสีเขียวดังนี้
1. จัดหาทรัพยากรสารสนเทศด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ให้มีจำนวนเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 100 รายชื่อ
2. จัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้แก่ผู้รับบริการห้องสมุด โดยมีเนื้อหาครอบคลุมทุกหัวข้อดังต่อไปนี้
– การประหยัดพลังงานไฟฟ้า
– การประหยัดน้ำ
– การคัดแยกและใช้ประโยชน์จากขยะหรือวัสดุเหลือใช้
– ก๊าซเรือนกระจก
3. ทำกิจกรรมร่วมกับเครือข่ายความร่วมมือห้องสมุดสีเขียวหรือหน่วยงานอื่น ๆ ในเรื่องที่เกี่ยวกับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ไม่น้อยกว่า 4 ครั้งต่อปี
4. ได้รับคะแนนความพึงพอใจจากผู้รับบริการห้องสมุดไม่น้อยกว่า 4.00
GL-1.1.5-1 เป้าหมายด้านห้องสมุด ประจำปี พ.ศ.2567
1.1.6 มีการกำหนดให้งานห้องสมุดสีเขียว ทั้งด้านห้องสมุด และด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เป็นงานประจำของหน่วยงาน ดังนี้

(1) มีการกำหนดแผนงานห้องสมุดสีเขียวทั้งด้านห้องสมุด และด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมให้เป็นแผนงานประจำของห้องสมุด โดยดำเนินการต่อเนื่องทุกปี

(2) มีการสรุปปัญหาและแนวทางการปรับปรุง เป็นข้อมูลเพื่อกำหนดแผนงานห้องสมุดสีเขียวในปีต่อไป

(3) มีการบูรณาการงานด้านห้องสมุด และงานด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ภายใต้แผนงานพัฒนาห้องสมุดสีเขียว
(4) กำหนดให้งานห้องสมุดสีเขียว เป็นภาระงานของบุคลากรที่ต้องได้รับการประเมิน
สำนักหอสมุดกลางได้กำหนดให้งานห้องสมุดสีเขียวเป็นภาระงานของบุคลากรทุกคน โดยมีสัดส่วนการประเมินภาระงานคิดเป็น 10% ของภาระงานทั้งหมด ผู้บริหารได้กำหนดแผนประจำปีในการดำเนินงาน และจะดำเนินการอย่างต่อเนื่อง ได้มีการสรุปปัญหาและนำมาหารือ เพื่อกำหนดแนวทางในการแก้ปัญหาและปรับปรุงประสิทธิภาพในการทำงานให้ดีขึ้นในที่ประชุมคณะกรรมการพัฒนาห้องสมุดสีเขียวเป็นประจำทุกเดือน
1.1.7 มีการกำหนดนโยบายลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก สอดคล้องกับนโยบายขององค์กร หรือนโยบายของประเทศ หรือนโยบายตามบริบทสากล ดังนี้

(1) มีการกำหนดนโยบายความเป็นกลางทางคาร์บอน ( Carbon Neutrality) หรือ นโยบายการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ (Net Zero) ของห้องสมุด
(2) มีการกำหนดเป้าหมายและแผนงานการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกระยะสั้นและระยะยาวของห้องสมุดที่สอดคล้องกับนโยบายตามข้อ (1)
(3) มีการลด และ/หรือ ชดเชยการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
(4) ผลการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนดในข้อ (2)

1.2 คณะทำงานห้องสมุดสีเขียว

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน
1.2.1 มีการแต่งตั้งคณะกรรมการหรือทีมงานห้องสมุดสีเขียวซึ่งประกอบด้วย คณะกรรมการด้านห้องสมุด และคณะกรรมการด้าน
ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม โดยมีแนวทางดำเนินงาน ดังนี้

(1) ผู้บริหารแต่งตั้งคณะกรรมการหรือทีมงานห้องสมุดสีเขียว ซึ่งประกอบด้วยงานด้านห้องสมุดและด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เป็นลายลักษณ์อักษร
และลงนามอนุมัติการแต่งตั้งคณะกรรมการหรือทีมงานจะต้องครอบคลุมทุกหมวด และประกอบด้วยบุคลากร/ผู้แทนจากทุกฝ่ายในหน่วยงาน
(2) กำหนดอำนาจ บทบาท หน้าที่ ความรับผิดชอบของคณะกรรมการหรือทีมงาน อย่างชัดเจน
สำนักหอสมุดกลางได้มีคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียว โดยผู้บริหารได้ลงนามอนุมัติเป็นลายลักษณ์อักษร ทั้งนี้ในคำสั่งแต่งตั้งได้มีการกำหนดบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของคณะกรรมการในแต่ละหมวด โดยมีโครงสร้างเป็นประธานหมวด เลขานุการหมวดและกรรมการประจำหมวดGL 1.2.1-1 แต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาห้องสมุดสีเขียวและสํานักงานสีเขียว สํานักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร
1.2.2 ร้อยละของคณะกรรมการหรือทีมงานห้องสมุดสีเขียว ด้านห้องสมุดที่ดำเนินงานตามบทบาท หน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมาย ดังนี้

(1) ประธาน/หัวหน้า
(2) คณะกรรมการหรือทีมงานด้าน
ห้องสมุด
คณะกรรมการพัฒนาห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียวมีการดำเนินงานตามแผนงานที่ได้รับมอบหมาย โดยมีประธานหมวดต่าง ๆ เป็นผู้รายงานความคืบหน้าในการดำเนินงานในที่ประชุมคณะกรรมการพัฒนาห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียวเป็นประจำทุกเดือน หลังจากนั้นแต่ละหมวดจะมีการประชุมแผนการดำเนินงานภายในหมวด โดยทั้งประธานหมวด เลขานุการหมวดและกรรมการประจำหมวดเพื่อขับเคลื่อนงานต่อไป

1.3 การทบทวนฝ่ายบริหาร

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน
1.3.1 การกำหนดองค์ประชุมทบทวนฝ่ายบริหาร

(1) มีผู้บริหารเข้าร่วมประชุม
(2) มีตัวแทนของแต่ละฝ่าย/แผนก/ส่วนงานที่มีความเกี่ยวข้องกับการดำเนินงานด้านห้องสมุด ในแต่ละหมวดเข้าร่วมประชุม
(3) จำนวนผู้เข้าร่วมประชุมจะต้องมากกว่าร้อยละ 75 ของจำนวนผู้ที่เป็นคณะกรรมการห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียว พร้อมหลักฐานการลงนามเข้าร่วมประชุม
(4) หากผู้ที่จะต้องเข้าประชุมไม่สามารถเข้าร่วมได้ จะต้องมีวิธีการรายงานผลการประชุมให้รับทราบ พร้อมรับข้อเสนอแนะ
เมื่อวันที่ 25 ตุลาคม 2567 ได้มีการจัดประชุมทบทวนฝ่ายบริหาร โดยมีผู้บริหารและบุคลากรเข้าร่วมการประชุมทั้งสิ้น 64 คน ลาประชุม 18 คน โดยมีผู้เข้าร่วมการประชุมคิดเป็นร้อยละ 78 ของบุคลากรทั้งหมด หลังจากการประชุมได้มีการส่งรายงานการประชุมไปยังบุคลากรทุกคนผ่านระบบ D-SarabunGL-1.3.1-1 รายงานการประชุมทบทวนฝ่ายบริหาร

GL-1.3.1-2 ภาพถ่ายการประชุม
1.3.2 มีการกำหนดวาระการประชุมและทำการประชุมทบทวนฝ่ายบริหารดังนี้

(1) มีการประชุมทบทวนฝ่ายบริหารอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
(2) วาระที่ 1 การติดตามผลการประชุมทบทวนฝ่ายบริหารที่ผ่านมาทั้งด้านห้องสมุด และด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
(3) วาระที่ 2 ทบทวนนโยบายห้องสมุดสีเขียว
(4) วาระที่ 3 ความมีประสิทธิภาพของคณะกรรมการหรือทีมงานด้านห้องสมุด และด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม (ความเพียงพอและความเหมาะสม)
(5) วาระที่ 4 การติดตามผลการดำเนินงานด้านห้องสมุด และด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
(6) วาระที่ 5 การเปลี่ยนแปลงที่จะส่งผลกระทบต่อความสำเร็จในการดำเนินงานด้านห้องสมุด และด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
(7) วาระที่ 6 ข้อเสนอแนะจากที่ประชุม และแนวคิดของผู้บริหารต่อการพัฒนาห้องสมุดสีเขียวอย่างต่อเนื่องทั้งด้านห้องสมุดและด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
(8) จัดทำรายงานการประชุมทบทวนฝ่ายบริหาร รายชื่อผู้เข้าประชุมและภาพถ่ายที่แสดงให้เห็นว่ามีการประชุมจริง
การประชุมทบทวนฝ่ายบริหารที่ได้จัดขึ้นในวันที่ 25 ตุลาคม 2567 นั้นมีวาระที่เป็นไปตามข้อกำหนดหมวด 1.3.2 โดยการประชุมเป็นรูปแบบผสมผสานทั้งออนไซด์และออนไลน์

1.4 การตรวจประเมินภายใน (สำหรับหน่วยงานต่ออายุ)

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน
1.4.1 การวางแผนและดำเนินการตรวจประเมินภายใน ด้านห้องสมุด (ด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เป็นไปตามเกณฑ์การประเมินสำนักงานสีเขียว)

(1) มีการแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจประเมินภายใน ด้านห้องสมุด ประกอบด้วย หัวหน้าผู้ตรวจประเมินและผู้ตรวจประเมิน ที่มีความรู้และประสบการณ์เรื่องห้องสมุดสีเขียว
(2) มีการกำหนดความถี่ในการตรวจประเมินภายใน ด้านห้องสมุด อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
(3) มีการจัดทำข้อกำหนดการตรวจประเมินภายใน ด้านห้องสมุดครอบคลุมทุกหมวด
(4) กำหนดให้ ผู้ตรวจประเมินภายในด้านห้องสมุดแต่ละหมวดมีความเพียงพอ

2.1 การอบรมให้ความรู้และประเมินความเข้าใจ

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน
2.1.1 กำหนดแผนการฝึกอบรม ดำเนินการอบรม การประเมินผล และบันทึกประวัติการฝึกอบรม

(1) ระบุหลักสูตรและความถี่การอบรมลงในแผนการฝึกอบรม โดยหลักสูตรครอบคลุมเนื้อหามีรายละเอียดอย่างน้อยดังนี้

– ความสำคัญของห้องสมุดสีเขียว
– การบริหารจัดการห้องสมุดสีเขียวและการลดปริมาณการปล่อยก๊าซ
เรือนกระจก
– การให้บริการที่มีคุณภาพและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

– การจัดหาและการให้บริการทรัพยากรสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม

(2) ดำเนินการฝึกอบรมตามแผนการฝึกอบรมในข้อ (1) โดยผู้รับการอบรมจะต้องมากกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายในแต่ละหลักสูตร
(3) ประเมินผลการฝึกอบรม เช่น ข้อสอบ หรือการประเมินขณะปฏิบัติงาน เป็นต้น
(4) จัดทำประวัติการอบรมของบุคลากร
มีแผนการฝึกอบรมเนื้อหา 5 ด้านและดำเนินการตามแผน

  -ฝึกอบรมและฝึกซ้อมอพยพหนีไฟ วันที่ 17 มิ.ย.67 ณ สำนักหอสมุดกลาง วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ หอสมุดท่าพระและหอสมุดวิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี

  -ฝึกอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียว วันที่ 23 ก.ค.2567 ณ สำนักหอสมุดกลาง ชั้น 5 นครปฐม และออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom

ท่านวิทยากร รองศาสตราจารย์ ดร.สยาม อรุณศรีมรกต คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ให้ความรู้กับบุคลากร เรื่องทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
2 โครงการ ดังนี้

  1. สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดโครงการอบรม Go Go SU GREEN LIBRARY เพื่อให้เป็นไปตามนโยบายของสำนักหอสมุดกลาง เห็นควรจัดโครงการอบรมให้ความรู้กับบุคลากรด้านห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียว เพื่อให้บุคลากรตระหนักถึงการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องดังกล่าว นำไปปรับใช้ในการดำเนินงานและในชีวิตประจำวันรวมถึงมีส่วนร่วมในการผลักดันให้ สำนักหอสมุดกลางเป็นห้องสมุดสีเขียวที่มีสภาพแวดล้อมที่น่าอยู่ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและมีการพัฒนาที่ยั่งยืนต่อไป โดย รศ.ดร.สยาม อรุณศรีมรกต คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ ม.มหิดล วันที่ 23 กรกฎาคม 2567 เวลา 09.00-16.30 น. ณ ห้องประชุม 1 ชั้น 5 อาคารหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ และผ่านระบบออนไลน์โปรแกรม Zoom วิทยาเขตวังท่าพระและวิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี

  2. สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดโครงการอบรมการให้ความรู้เรื่องการระบุและประเมินปัญหาสิ่งแวดล้อม เพื่อให้เป็นไปตามนโยบายของสำนักหอสมุดกลาง เห็นควรจัดโครงการอบรมให้ความรู้ กับบุคลากรด้านห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียว เพื่อให้บุคลากรตระหนักถึงการอนุรักษ์พลังงาน และสิ่งแวดล้อม มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการระบุและประเมินปัญหาสิ่งแวดล้อม โดย รศ.ดร.สยาม อรุณศรีมรกต คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ ม.มหิดล วันที่ 8 ตุลาคม 2567 เวลา 08.30-16.30 น.
ณ ห้องประชุม 1 ชั้น 5 อาคารหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์

  3. โครงการอบรมฝึกซ้อมอพยพหนีไฟและปฐมพยาบาลเบื้องต้น ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดโครงการอบรมฝึกซ้อมอพยพหนีไฟและปฐมพยาบาลเบื้องต้น ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 วันที่ 17 มิถุนายน 2567 เวลา 09.00-12.00 น. ณ ห้องประชุม 1 ชั้น 5 อาคารหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ และผ่านระบบออนไลน์โปรแกรม Zoom วิทยาเขตวังท่าพระและวิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี
GL-2.1.1-1 แบบทดสอบความรู้

GO-2.1.1-2 สื่อที่ใช้การสร้างความรู้

GL-2.1.1-3 แผนการอบรมความรู้ด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

GL-2.1.1-4 รายละเอียดการฝึกอบรมด้านสิ่งแวดล้อม

GL-2.1.1-5 หลักฐานการลงทะเบียนอบรม Green SULIB 8 ต.ค. 2567

GL-2.1.1-5 หลักฐานการลงทะเบียนอบรม Green SULIB 8 ต.ค. 2567

GL-2.1.1-6 หลักฐานการลงทะเบียนอบรม Green SULIB 23 ก.ค. 2567

GL-2.2.1-7 (1-3) การฝึกอบรม
2.1.2 กำหนดผู้รับผิดชอบด้านการอบรมแต่ละหลักสูตรมีความเหมาะสม

(1) ผู้รับผิดชอบในการอบรมจะต้องมีความรู้ในเนื้อหาการอบรม
(2) ผู้รับผิดชอบในการอบรมจะต้องมีหลักฐานแสดงความสามารถ เช่น ประวัติ หรือประสบการณ์ที่เกี่ยวข้อง
ประวัติวิทยากร
  รองศาสตราจารย์ ดร.สยาม อรุณศรีมรกต คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
GL-2.1.1-1 ประวัติวิทยากร

GL-2.1.1-2 ประวัติวิทยากร (เพิ่มเติม)

2.2 การรณรงค์และประชาสัมพันธ์แก่บุคลากร

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน
2.2.1 มีการกำหนดผู้รับผิดชอบและแนวทางสื่อสารเรื่องห้องสมุดสีเขียว

(1) กำหนดหัวข้อและความถี่การสื่อสารอย่างน้อย ดังนี้



(2) กำหนดช่องทางการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับหัวข้อการสื่อสารและองค์กร (ไม่จำกัดจำนวนช่องทาง)
(3) กำหนดกลุ่มเป้าหมายรับเรื่องสื่อสาร
(4) กำหนดผู้รับผิดชอบในการสื่อสาร
   สำนักหอสมุดกลางมีการรณรงค์สื่อสารและให้ความรู้ตามแผนการสื่อสารด้านสิ่งแวดล้อมประจำปี 2567 ในหัวข้อต่างๆ ได้แก่ นโยบายสิ่งแวดล้อม ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีนัยสำคัญ การปฏิบัติตามกฎหมาย ความสะอาดและความเป็นระเบียบ 5ส เป้าหมายและมาตรการใช้ทรัพยากร เป้าหมายและมาตรการจัดการของเสียผลการใช้ทรัพยากร พลังงาน ของเสีย สินค้าและบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และปริมาณก๊าซเรือนกระจกโดยได้มีการรณรงค์สื่อสารในหลากกลายช่องทาง เช่น สื่อสิ่งพิมพ์สื่ออิเล็กทรอนิกส์และสื่อบุคคล ซึ่งสามารถ
แสดงหลักฐานการรณรงค์สื่อสาร ดังนี้

   – สื่อสิ่งพิมพ์ : โปสเตอร์

   – สื่ออิเล็กทรอนิกส์ : เว็บไซต์ Social Media: Facebook Group / Line Group
https://lib.su.ac.th/direction-green/

   – สื่อบุคคล : การประชุมฝ่าย/งาน ทั้งรูปแบบปกติและการประชุมออนไลน์และสื่อวิดีโอให้ความรู้ : โปสเตอร์, สติกเกอร์รณรงค์
 - การจัดการพลังงานและการใช้ทรัพยากร
GL-2.2.1-1 แผนการประชาสัมพันธ์ GREEN ปี 2567

GL-2.2.1-2 การรณรงค์สื่อสารและให้ความรู้ตามแผนการสื่อสาร
2.2.2 มีการรณรงค์สื่อสารและให้ความรู้ตามที่กำหนดในข้อ 2.2.1มีการรณรงค์สื่อสารและให้ความรู้ตามที่กำหนด ในเรื่องของ
– นโยบายห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียว
– ทรัพยากรสารสนเทศด้านทรัพยากร สิ่งแวดล้อม และเรื่องที่เกี่ยวข้อง
– ความรู้ด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม และเรื่องที่เกี่ยวข้อง

2.2.1 มีการกำหนดผู้รับผิดชอบและแนวทางสื่อสารด้านสิ่งแวดล้อมทั้งภายในและภายนนอกสำนักงาน

(1) กำหนดหัวข้อและความถี่การสื่อสาร เอกสารประกอบ : แผนการสื่อสารด้านสิ่งแวดล้อมประจำปี 2567

(2) กำหนดช่องทางการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพกับหัวข้อการสื่อสารและองค์กร

  - เอกสารแนบ รายงานผลการประชุมการกำหนดและการทบทวนช่องทางการสื่อสารองค์กรด้านสำนักงานสีเขียว
ช่องทางการสื่อสารกับบุคลากร

   1. สื่อสิ่งพิมพ์ : โปสเตอร์

   2. สื่ออิเล็กทรอนิกส์ : เว็บไซต์/ ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ d-Saraban / Social Media : Facebook / Line

   3. สื่อบุคคล : การประชุมฝ่าย/งาน ทั้งรูปแบบปกติและการประชุมออนไลน์

ช่องทางการสื่อสารกับผู้รับบริการ

   1. สื่อสิ่งพิมพ์ : โปสเตอร์

   2. สื่ออิเล็กทรอนิกส์ : เว็บไซต์/ Social Media : Facebook Fanpage

(3) กำหนดกลุ่มเป้าหมายรับเรื่องสื่อสาร (รายงานในแผนการสื่อสารฯ)

(4) กำหนดผู้รับผิดชอบในการสื่อสาร
GL-2.2.2-1 รณรงค์สื่อสาร ให้ความรู้
2.2.3 ร้อยละความเข้าใจนโยบายและการดำเนินงานห้องสมุดสีเขียว (สุ่มอย่างน้อย 4 คน) โดยจะต้องสอบถามบุคลากรแต่ละคนอย่างน้อยตามข้อ 2.2.1 (1)ร้อยละความเข้าใจนโยบายสิ่งแวดล้อมและการดำเนินงานสำนักงานสีเขียว (สุ่มอย่างน้อย 4 คน) โดยจะต้องสอบถามบุคลากรแต่ละคนอย่างน้อยตามข้อ 2.2.1 (1)
– ณ วันตรวจประเมิน –
GL-2.2.3-1 ร้อยละความเข้าใจนโยบายสิ่งแวดล้อมและการดำเนินงานสำนักงานสีเขียว (สุ่มอย่างน้อย 4 คน)
2.2.4 มีช่องทางรับข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็นด้านห้องสมุดสีเขียว และนำมาปรับปรุงแก้ไข โดยต้องมีแนวทางดังนี้

(1) มีช่องทางเพื่อรับข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็นด้านห้องสมุดสีเขียว เช่น ไลน์ เว็บไซต์เฟสบุ๊ค อีเมล์ กล่องรับความคิดเห็น และข้อเสนอแนะจากการประชุม

(2) มีผู้รับผิดชอบในการรับข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็น

(3) มีการแสดงข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็นด้านห้องสมุดสีเขียว

(4) มีการรายงานผลการปรับปรุงจากข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็น และเสนอต่อผู้บริหาร
(1) มีช่องทางเพื่อรับข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็นด้านสิ่งแวดล้อม เช่น ไลน์ QR Code การประชุม เว็บไซต์สำนักหอสมุดกลาง เปิดรับข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็นด้านสิ่งแวดล้อม ใน 2 ช่องทางคือ

   1) ช่องทางระบบรับฟังเสียงของลูกค้า หรือ ระบบรับฟังเสียงของลูกค้า (VOC)
ติด QR Code เพื่อรับข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็นด้านสิ่งแวดล้อม ทั้งภายในและภายนอกอาคารสำนักหอสมุดกลาง เพื่ออำนวยความสะดวกในการแจ้งข้อเสนอแนะ

   2) ช่องทาง Line Official สำหรับผู้ใช้บริการ และ Line Group ภายในสำหรับผู้ปฏิบัติงานของสำนักหอสมุดกลาง

จากรายงานการประชุมคณะกรรมการฯ ทุกครั้งในการประชุมรายงานผล

– ไม่พบข้อร้องเรียน –

ฟอร์มรับข้อเสนอแนะด้านสิ่งแวดล้อม สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร (Suggestion e-Form SU GREEN LIBRARY)
GL-2.2.4-1 ช่องทางรับข้อเสนอแนะ ข้อคิดเห็นด้านห้องสมุดสีเขียว

GL-2.2.4-2 Flowchart การจัดการข้อเสนอแนะด้านสิ่งแวดล้อม

3.1 จัดการทรัพยากรสารสนเทศด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ให้เพียงพอและพร้อมใช้

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน
3.1.1 จัดหาทรัพยากรสารสนเทศด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมและเรื่องที่เกี่ยวข้อง โดยดำเนินการดังนี้

(1) สำรวจความต้องการของผู้รับบริการ
(2) จัดหาทรัพยากรสารสนเทศได้ตรงตามความต้องการ และสอดคล้องกับนโยบายของห้องสมุด
(3) ทรัพยากรสารสนเทศมีความทันสมัย
(4) ทรัพยากรสารสนเทศมีความหลากหลายเหมาะสมกับผู้รับบริการแต่ละกลุ่ม
จัดหาทรัพยากรสารสนเทศด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมและเรื่องที่เกี่ยวข้อง ดังนี้
(1) สำรวจความต้องการของผู้รับบริการ
(2) จัดหาทรัพยากรสารสนเทศได้ตรงตามความต้องการ และสอดคล้องกับนโยบายของห้องสมุด
(3) ทรัพยากรสารสนเทศมีความทันสมัย
(4) ทรัพยากรสารสนเทศมีความหลากหลาย เหมาะสมกับผู้รับบริการแต่ละกลุ่ม
3.1.2 ปริมาณทรัพยากรสารสนเทศด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม และเรื่องที่เกี่ยวข้อง เพิ่มขึ้นทุกปี อย่างน้อยปีละ 100 รายชื่อมีทรัพยากรสารสนเทศด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม และเรื่องที่เกี่ยวข้องให้บริการ
3.1.3 จัดเตรียมทรัพยากรสารสนเทศด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมและเรื่องที่เกี่ยวข้อง ให้พร้อมใช้และสามารถค้นคืนได้โดยง่าย ดังนี้

(1) มีการจัดหมวดหมู่ กำหนดคำสำคัญและคำศัพท์เฉพาะ เพื่อความ
สะดวกในการสืบค้น
(2) ลงรายการบรรณานุกรมและบันทึกข้อมูล หรือจัดทำรายชื่อเพื่อให้
สะดวกต่อการค้นหา
(3) จัดเตรียมทรัพยากรสารสนเทศให้พร้อมสำหรับให้บริการ
(4) ผู้รับบริการสามารถสืบค้นและเข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศได้โดยง่าย
จัดเตรียมทรัพยากรสารสนเทศด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมและเรื่องที่เกี่ยวข้อง ให้พร้อมใช้และสามารถค้นคืนได้
(1) มีการจัดหมวดหมู่ กำหนดคำสำคัญและคำศัพท์เฉพาะ เพื่อความสะดวกในการสืบค้น
(2) ลงรายการบรรณานุกรมและบันทึกข้อมูล หรือจัดทำรายชื่อเพื่อให้สะดวกต่อการค้นหา
(3) จัดเตรียมทรัพยากรสารสนเทศให้พร้อมสำหรับให้บริการ
(4) ผู้รับบริการสามารถสืบค้นและเข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศได้โดยง่าย

3.2 การให้บริการห้องสมุดที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน
3.2.1 ส่งเสริมการให้บริการและการใช้ทรัพยากรสารสนเทศด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมและเรื่องที่เกี่ยวข้อง ดังนี้

(1) ประชาสัมพันธ์บริการ และแนะนำทรัพยากรสารสนเทศผ่านช่องทาง
ต่างๆ ถึงผู้รับบริการ และหน่วยงานเครือข่ายความร่วมมือ
(2) ตรวจสอบสภาพและจัดการทรัพยากรสารสนเทศให้พร้อมบริการอยู่เสมอ
(3) จัดทำสถิติการยืมหรือการใช้ประโยชน์ทรัพยากรสารสนเทศ
(4) นำนวัตกรรมหรือเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้เพื่อส่งเสริมการให้บริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
(1) ประชาสัมพันธ์บริการ และแนะนำทรัพยากรสารสนเทศผ่านช่องทางต่างๆ ถึงผู้รับบริการ
(2) ตรวจสอบสภาพและจัดการทรัพยากรสารสนเทศให้พร้อมบริการอยู่เสมอ
(3) จัดทำสถิติการยืมหรือการใช้ประโยชน์ทรัพยากรสารสนเทศ
(4) นำนวัตกรรมหรือเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้เพื่อส่งเสริมการให้บริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
3.2.2 จัดพื้นที่บริการ ให้สอดคล้องกับการเป็นห้องสมุดสีเขียว ดังนี้

(1) สะอาด สวยงาม เป็นระเบียบ
(2) ปลอดภัย

(3) ประหยัดพลังงานและทรัพยากร
(4) จัดพื้นที่บริการโดยสอดแทรกความรู้ และแนวคิดการให้บริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
(1) สะอาด สวยงาม เป็นระเบียบ
(2) จัดพื้นที่บริการโดยสอดแทรกความรู้และแนวคิดการให้บริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
(3) ประหยัดพลังงานและทรัพยากร
(4) จัดพื้นที่บริการโดยสอดแทรกความรู้และแนวคิดการให้บริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

4.1 การจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้รับบริการ บุคลากร และผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน
4.1.1 จัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านและส่งเสริมการเรียนรู้ด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ให้กับกลุ่มเป้าหมาย ในเรื่องต่อไปนี้

(1) การประหยัดพลังงานไฟฟ้า และการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงานไฟฟ้า

(2) การประหยัดน้ำและการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า
(3) การคัดแยกและใช้ประโยชน์จากขยะหรือวัสดุเหลือใช้ การจัดการของเสียและมลพิษ
(4) ก๊าซเรือนกระจก
(1) การประหยัดพลังงานไฟฟ้า และการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงานไฟฟ้า
(2) การประหยัดน้ำ และการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า
(3) การคัดแยกและใช้ประโยชน์จากขยะหรือวัสดุเหลือใช้ การจัดการของเสียและมลพิษ
(4) ก๊าซเรือนกระจก
4.1.2 การมีส่วนร่วมของกลุ่มเป้าหมาย ในกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ดังนี้

(1) ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีจำนวนมากกว่าร้อยละ 80 ของเป้าหมายที่กำหนด
(2) กลุ่มเป้าหมายมีส่วนร่วมในการออกแบบกิจกรรม
(3) กลุ่มเป้าหมายมีส่วนร่วมในการสรุปผลกิจกรรมและการนำไปใช้ประโยชน์

(4) มีการจัดทำใบประกาศหรือใบรับรองให้กับผู้เข้าร่วมกิจกรรมตามเงื่อนไขที่ห้องสมุดกำหนด
(1) ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีจำนวนมากกว่าร้อยละ 80 ของเป้าหมายที่กำหนด
(3) กลุ่มเป้าหมายมีส่วนร่วมในการสรุปผลกิจกรรมและการนำไปใช้ประโยชน์
(4) มีการจัดทำใบประกาศหรือใบรับรองให้กับผู้เข้าร่วมกิจกรรมตามเงื่อนไขที่ห้องสมุดกำหนด
4.1.3 ความถี่และความสม่ำเสมอในการจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ของห้องสมุดสีเขียว มีการจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ ให้กับกลุ่มเป้าหมาย
– ขยะแลกของ ในงานทับแก้วบุ๊คแฟร์ ครั้งที่ 16
– Sanam Small Green / Book sharing ในงานเปิดบ้านฯ
– โครงการ Tea time & tree talk : Amazing reborn (กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ฯ)
– เหลือใช้ – ใช้แล้วเหลือ “พี่พร้อม” ขอนะ
– Sanam Small Green ในกิจกรรม Tea time & tree talk : “พี่พร้อม” X ศึกษาศาสตร์ (กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ฯ)
– Sanam Small Green / Book sharing ในกิจกรรม “SU GREEN LIFEBRARY FOR YOU” ในงานทับแก้ววิชาการครั้งที่ 9 (กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ฯ)
4.1.4 จัด Green Corner หรือพื้นที่ส่งเสริมการเรียนรู้ของห้องสมุดสีเขียว โดยแสดงข้อมูลต่อไปนี้และมีการปรับปรุงข้อมูลเป็นประจำทุกเดือนเป็นอย่างน้อย

(1) นโยบายห้องสมุดสีเขียว และสำนักงานสีเขียว (ปรับปรุงข้อมูลเมื่อมีการเปลี่ยนแปลง)
(2) ข่าวสาร กิจกรรม มาตรการ ด้านการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อมของห้องสมุด
(3) ผลการดำเนินงานห้องสมุดสีเขียว และแสดงข้อมูลประสิทธิภาพการใช้ พลังงานไฟฟ้า ผลการประหยัดน้ำ การประหยัดทรัพยากร และปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
(4) สื่อความรู้ และเอกสารเผยแพร่ที่เกี่ยวข้องกับทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
จัด Green Corner หรือพื้นที่ส่งเสริมการเรียนรู้ของห้องสมุดสีเขียว โดยแสดงข้อมูลต่อไปนี้
(1) นโยบายห้องสมุดสีเขียว และสำนักงานสีเขียว
(2) ข่าวสาร กิจกรรม มาตรการ ด้านการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อมของห้องสมุด
(3) ผลการดำเนินงานห้องสมุดสีเขียว และแสดงข้อมูลประสิทธิภาพการใช้พลังงานไฟฟ้า ผลการประหยัดน้ำ การประหยัดทรัพยากร และปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
(4) สื่อความรู้ และเอกสารเผยแพร่ที่เกี่ยวข้องกับทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม

4.2 ประเมินผลการเรียนรู้

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน
4.2.1 ร้อยละของจำนวนกิจกรรมที่มีการประเมินผลการเรียนรู้ ด้านการวัดความรู้จัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ 3 กิจกรรม มีการประเมินความรู้ทั้ง 3 กิจกรรม (ร้อยละ 100)
4.2.2 ร้อยละของจำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมที่ผ่านการประเมินผลการเรียนรู้ ด้านการวัดความรู้จากการเข้าร่วมกิจกรรม (เกณฑ์การวัดความรู้ พิจารณาจากคะแนนผ่านที่ร้อยละ 60)มีผู้ผ่านการวัดความรู้ทุกคน (ร้อยละ 100)
4.2.3 ร้อยละของจำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมที่มีผลประเมินด้านพฤติกรรมในเชิงบวกหลังเข้าร่วมกิจกรรม โดยจัดกิจกรรมกับกลุ่มเป้าหมาย อย่างน้อย 2 กลุ่ม คือ กลุ่มบุคลากร และกลุ่มผู้รับบริการหรือผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ยังไม่ได้มีการออกแบบการประเมินผลด้านพฤติกรรม
4.2.4 การปรับปรุงกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่อง ดังนี้

(1) สรุปผลการจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ทั้งหมดในรอบปี
(2) มีการวิเคราะห์ปัญหา และผลประเมินการเรียนรู้เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการพัฒนากิจกรรม
(3) จัดทำแผนปรับปรุงและพัฒนากิจกรรม
(4) จัดทำรายงานผลการจัดกิจกรรมเสนอผู้บริหารและผู้เกี่ยวข้อง
(1) สรุปผลการจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ทั้งหมดในรอบปี
(2) มีการวิเคราะห์ปัญหา และผลการประเมินการเรียนรู้ เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการพัฒนากิจกรรม
(3) จัดทำแผนปรับปรุงและพัฒนากิจกรรม
(4) จัดทำรายงานผลการจัดกิจกรรมเสนอผู้บริหารและผู้เกี่ยวข้อง

5.1 หน่วยงานความร่วมมือ

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน
5.1.1 มีความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับด้านการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม ดังนี้

(1) เครือข่ายห้องสมุดสีเขียว
(2) ชมรมห้องสมุดสีเขียว
(3) หน่วยงานภายในองค์กร
(4) หน่วยงานภายนอกองค์กร
(1) ฝ่ายหอสมุดพระราชวังสนามจันทร์เข้าร่วมเป็นเครือข่ายห้องสมุดสีเขียว โดยการสมัครสมาชิกจากสมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทยฯ

(2) ฝ่ายหอสมุดพระราชวังสนามจันทร์เป็นสมาชิกชมรมห้องสมุดสีเขียว โดยการสมัครสมาชิกจากสมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทยฯ

(3) ผู้ช่วยศาสตราจารย์เชาว์วัฒน์ กิตติธรกุล รองผู้อำนวยการสำนักหอสมุดกลางฝ่ายบริหาร และเป็นประธานคณะดำเนินงานห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียว พร้อมด้วยคณะกรรมการฯ ได้เข้าศึกษาดูงาน สำนักงานสีเขียว (Green Office) คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร เมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2567 เวลา 09.00 – 12.00 น. ได้รับการต้อนรับเป็นอย่างดี จาก ศ.ดร.ภก. พรศักดิ์ ศรีอมรศักดิ์ คณบดีคณะเภสัชศาสตร์ พร้อมด้วยรองคณบดีฝ่ายการจัดการทรัพยากรเพื่อความยั่งยืน และสำนักงานคณบดีคณะเภสัชศาสตร์ ซึ่งคณะเภสัชศาสตร์ผ่านการประเมินสำนักงานสีเขียว ประจำปี 2566 ในระดับดีเยี่ยม (เหรียญทอง) จากกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมศึกษาดูงานสำนักงานสีเขียวคณะเภสัชศาสตร์

(4) หน่วยงานภายนอกองค์กร
  - ศึกษาดูงาน Zero Waste ชุมชนบ้านรางพลับ จ.ราชบุรี
รองผู้อำนวยการสำนักหอสมุดกลางฝ่ายบริหาร และเป็นประธานคณะดำเนินงานห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียว พร้อมด้วยคณะกรรมการฯ ศึกษาดูงานในวันที่ 26 มีนาคม 2567 ณ ศูนย์การเรียนรู้ชุมชนปลอดขยะ (Zero Waste) ชุมชนบ้านรางพลับ จังหวัดราชบุรี เพื่อให้คณะทำงานพัฒนาห้องสมุดสีเขียวของสำนักหอสมุดกลาง ได้ศึกษาดูงานและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านการจัดการขยะ ที่ชุมชนบ้านรางพลับ อำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี ซึ่งเป็นชุมขนต้นแบบของหมู่บ้านปลอดขยะ (Zero Waste) จนได้รับรางวัลระดับประเทศ
  - ศึกษาดูงานและแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงานห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียว สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบุรี
ผู้ช่วยศาสตราจารย์เชาว์วัฒน์ กิตติธรกุล รองผู้อำนวยการสำนักหอสมุดกลางฝ่ายบริหาร พร้อมด้วยคณะทำงานห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียว ศึกษาดูงาน ณ สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี เมื่อวันอังคารที่ 18 มิถุนายน 2567 ได้รับการตอนรับเป็นอย่างดี จาก อาจารย์ปิยวรรณ คุสินธุ์ ผู้อำนวยการสำนักวิทยบริการฯ พร้อมด้วยบุคลากรสำนักวิทยบริการฯ ในการศึกษาดูงานครั้งนี้ สำนักหอสมุดกลาง ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงานขององค์กรที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม การดำเนินงานด้านห้องสมุดสีเขียว (Green Library) และสำนักงานสีเขียว (Green Office)
GL-5.1.1-1 หลักฐานการการสมัครเครือข่ายความร่วมมือห้องสมุดสีเขียว

GL-5.1.1-2 หลักฐานการลงนามความร่วมมือเครือข่ายห้องสมุดสีเขียว

GL-5.1.1-3 เอกสารเชิญเข้าร่วมการประชุมผู้บริหารเครือข่ายห้องสมุดสีเขียว และพิธีลงนามความร่วมมือเครือข่ายห้องสมุดสีเขียว

GL-5.1.1-4 Poster การประชุมผู้บริหารเครือข่ายห้องสมุดสีเขียว และพิธีลงนามความร่วมมือเครือข่ายห้องสมุดสีเขียว

GL-5.1.1-5 รายละเอียดการประชุมผู้บริหารเครือข่ายห้องสมุดสีเขียว และพิธีลงนามความร่วมมือเครือข่ายห้องสมุดสีเขียว

GL-5.1.1-6 ความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับด้านการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม
5.1.2 มีความร่วมมือในการดำเนินงานห้องสมุดสีเขียว ร่วมกับหน่วยงานด้านนโยบาย/การบริหาร หน่วยงานด้านกายภาพ ด้านวิจัย และด้านการศึกษา ดังนี้

(1) หน่วยงานด้านนโยบาย/บริหารหรือ หน่วยบริหารงานกลาง เพื่อประสานความร่วมมือด้านนโยบาย แผนงาน งบประมาณ การจัดซื้อจัดจ้าง การจัดการขยะ เป็นต้น
(2) หน่วยงานด้าน กายภาพ เพื่อประสานความร่วมมือด้านอาคาร สถานที่ ระบบงานไฟฟ้า ระบบงานอาคาร ระบบบำบัดน้ำเสีย เป็นต้น
(3) หน่วยงานวิจัย เพื่อประสานความร่วมมือในการนำเทคโนโลยีหรือผลงานวิจัยมาประยุกต์ใช้เพื่อการพัฒนาห้องสมุดสีเขียว
(4) หน่วยงานด้านการศึกษา หรือหน่วยการเรียนการสอน เพื่อประสานความมือในการส่งเสริมการเรียนรู้เรื่องทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
(1) หน่วยงานด้านนโยบาย/บริหารหรือ หน่วยบริหารงานกลาง เพื่อประสานความร่วมมือด้านนโยบาย แผนงาน งบประมาณ การจัดซื้อจัดจ้าง การจัดการขยะ เป็นต้น
  - เป็นคณะกรรมการชีวอนามัย ของมหาวิทยาลัยศิลปากร

(2) หน่วยงานด้าน กายภาพ เพื่อประสานความร่วมมือด้านอาคาร สถานที่ ระบบงานไฟฟ้า ระบบงานอาคาร ระบบบำบัดน้ำเสีย เป็นต้น
  ชื่อหน่วยงาน
    - กองงานวิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์
    - คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
  รายละเอียดการดำเนินงาน
    - บ่อบำบัดน้ำเสีย
    - การตรวจวิเคราะห์ค่าบำบัดน้ำเสีย
    - การวัดค่าแสง

(3) หน่วยงานวิจัย เพื่อประสานความร่วมมือในการนำเทคโนโลยีหรือผลงานวิจัยมาประยุกต์ใช้เพื่อการพัฒนาห้องสมุดสีเขียว
  ชื่อหน่วยงาน
    - มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ Walailak University
  รายละเอียดการดำเนินงาน
    - ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ WALAI AutoLIB
    - การจัดซื้อโปรแกรมจัดการฐานข้อมูล Oracle Database เพื่อรองรับระบบห้องสมุดอัตโนมัติ WALAI AutoLIB

(4) หน่วยงานด้านการศึกษา หรือหน่วยการเรียนการสอน เพื่อประสานความมือในการส่งเสริมการเรียนรู้เรื่องทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
  ชื่อหน่วยงาน
    - คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
    - ภาควิชาสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยศิลปากร
  รายละเอียดการดำเนินงาน
    - เชิญ รองศาสตราจารย์ ดร.สยาม อรุณศรีมรกต คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ให้ความรู้กับบุคลากร เรื่องทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
2 โครงการ ดังนี้
    1. สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดโครงการอบรม Go Go SU GREEN LIBRARY เพื่อให้เป็นไปตามนโยบายของสำนักหอสมุดกลาง เห็นควรจัดโครงการอบรมให้ความรู้กับบุคลากรด้านห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียว เพื่อให้บุคลากรตระหนักถึงการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องดังกล่าว นำไปปรับใช้ในการดำเนินงานและในชีวิตประจำวันรวมถึงมีส่วนร่วมในการผลักดันให้ สำนักหอสมุดกลางเป็นห้องสมุดสีเขียวที่มีสภาพแวดล้อมที่น่าอยู่ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและมีการพัฒนาที่ยั่งยืนต่อไป โดย รศ.ดร.สยาม อรุณศรีมรกต คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ ม.มหิดล วันที่ 23 กรกฎาคม 2567 เวลา 09.00-16.30 น. ณ ห้องประชุม 1 ชั้น 5 อาคารหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ และผ่านระบบออนไลน์โปรแกรม Zoom วิทยาเขตวังท่าพระและวิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี
    2. สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดโครงการอบรมการให้ความรู้เรื่องการระบุและประเมินปัญหาสิ่งแวดล้อม เพื่อให้เป็นไปตามนโยบายของสำนักหอสมุดกลาง เห็นควรจัดโครงการอบรมให้ความรู้ กับบุคลากรด้านห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียว เพื่อให้บุคลากรตระหนักถึงการอนุรักษ์พลังงาน และสิ่งแวดล้อม มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการระบุและประเมินปัญหาสิ่งแวดล้อม โดย รศ.ดร.สยาม อรุณศรีมรกต คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ ม.มหิดล วันที่ 8 ตุลาคม 2567 เวลา 08.30-16.30 น. ณ ห้องประชุม 1 ชั้น 5 อาคารหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์
  ชื่อหน่วยงาน
    - คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
  รายละเอียดการดำเนินงาน
    – หอสมุดพระราชวังสนามจันทร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง “Tea time & tree talk : Amazing reborn” ที่จะจัดขึ้นในวันที่ 1 สิงหาคม 2567 เวลา 13.00 – 16.30 น. ณ ห้องประชุม ชั้น 1 อาคารหอสมุดพระราชวังสนามจันทร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ จังหวัดนครปฐม
    - เข้าร่วมรับฟังการบรรยายเรื่อง “Upcycling เพื่อสภาพแวดล้อม” และกิจกรรม “Workshop : Amazing reborn” โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อังก์ศิริ ทิพยารมณ์ ภาควิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
GL-5.1.2-1 มีความร่วมมือในการดำนเนินงานฯ

GL-5.1.2-2 บันทึกข้อความ เนื่องการแต่งตั้งคณะกรรมการชีวอนามัย

5.2 กิจกรรมความร่วมมือ

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน
5.2.1 กิจกรรมความร่วมมือด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม มีดังนี้

(1) เข้าร่วมกิจกรรมที่หน่วยงานความร่วมมือจัด
(2) จัดกิจกรรมและเชิญหน่วยงานความร่วมมือเข้าร่วม
(3) เป็นวิทยากรหรือเป็นพี่เลี้ยงให้กับหน่วยงานอื่น
(4) เป็นสถานที่ศึกษาดูงานด้านห้องสมุดสีเขียว
(1) เข้ารับอบรมมาตรฐานและเกณฑ์ Green Library และ Green Office จัดโดยชมรมห้องสมุดสีเขียว วันที่ 26 มกราคม 2567 9.00-12.00 น. ผ่านทางระบบออนไลน์ Zoom

(2) ยังไม่มีการดำเนินงาน (เนื่องจากยังอยู่ในระหว่างการขอเข้ารับประเมินเป็นครั้งแรก)

(3) ยังไม่มีการดำเนินงาน (เนื่องจากยังอยู่ในระหว่างการขอเข้ารับประเมินเป็นครั้งแรก)

(4) ยังไม่มีการดำเนินงาน (เนื่องจากยังอยู่ในระหว่างการขอเข้ารับประเมินเป็นครั้งแรก)
GL-5.2.1-1 กิจกรรมความร่วมมือด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
5.2.2 จำนวนหน่วยงานต่อปี ที่ได้รับการขยายผลการจัดกิจกรรมห้องสมุดสีเขียว เช่น โรงเรียน ชุมชน หรือหน่วยงานต่างๆยังไม่มีการดำเนินงาน (เนื่องจากยังอยู่ในระหว่างการขอเข้ารับประเมินเป็นครั้งแรก)GL-5.2.2-1 กิจกรรมความร่วมมือด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม

Edit Template
1.1 การกำหนดนโยบายห้องสมุดสีเขียว

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน
1.1.1 มีบริบทองค์กรและขอบเขตของการบริหารจัดการห้องสมุดที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

(1) มีการกำหนดขอบเขตพื้นที่ของห้องสมุดทั้งหมด ทั้งส่วนของสำนักงาน และพื้นที่บริการ
(2) มีการกำหนดขอบเขตกิจกรรมของห้องสมุด
หอสมุดมีการกำหนดขอบเขตพื้นที่อย่างชัดเจน ทั้งพื้นที่ใช้งานรอบอาคารหอสมุดตามเอกสาร (1.1.1-A) และพื้นที่ภายในอาคาร (1.1.1-B) และหอสมุดได้ทำการกำหนดจัดทำขอบเขตกิจกรรมของห้องสมุด (1.1.1-C) โดยเน้นประโยชน์แก่ผู้รับบริการเป็นหลัก ทั้งในแง่ของความสะดวก รวดเร็วในการให้บริการ สภาพแวดล้อมที่สะอาดปลอดภัย โดยยังคงประสิทธิภาพในการทำงานของเจ้าหน้าที่ และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม GL-1.1.1-1 บริบทหอสมุด
1.1.2 มีนโยบายห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียวที่สอดคล้องและครอบคลุมประเด็นตามเกณฑ์ห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียว โดยแสดงความมุ่งมั่นอย่างต่อเนื่อง ในด้านห้องสมุด และด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ดังนี้

ด้านห้องสมุด
(1) มีนโยบายการ บริหารจัดการห้องสมุดสีเขียวและการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
(2) มีนโยบายการจัดการและให้บริการทรัพยากรสารสนเทศด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมและเรื่องที่เกี่ยวข้องให้เพียงพอ และพร้อมใช้
(3) มีนโยบายส่งเสริมการเรียนรู้ด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมและเรื่องที่เกี่ยวข้อง
(4) มีนโยบายการสร้างเครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน

ด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม

(รายละเอียดเป็นไปตามเกณฑ์การประเมินสำนักงานสีเขียว)
ผู้บริหารหอสมุดได้ประกาศนโยบายพัฒนาสำนักหอสมุดกลางสู่ห้องสมุดสีเขียว (1.1.2-A) เมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม 2566 โดยมีรายละเอียดของนโยบายที่ครอบคลุมทั้งในด้านการประหยัดพลังงาน การส่งเสริมการเข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศที่เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม และการสร้างเครือข่ายความร่วมมือ โดยกำหนดให้บุคลากรในหน่วยงานทุกคนมีส่วนในการร่วมผลักดันนโยบายนี้ และมีการทบทวนและปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เหมาะสมกับบริบทลสภาวการณ์ พร้อมทั้งให้มีการประชาสัมพันธ์ตามช่องทางต่างๆ GL-1.1.2-1 นโยบายพัฒนาสำนักหอสมุดกลางสู่ห้องสมุดสีเขียว
1.1.3 การกำหนดนโยบายห้องสมุดสีเขียว โดยผู้บริหารระดับสูง

(1) นโยบายห้องสมุดสีเขียวจะต้องได้รับการอนุมัติจากผู้บริหารสูงสุด หรือผู้
ที่ได้รับมอบอำนาจ
(2) มีการระบุวันที่การประกาศใช้นโยบายห้องสมุดสีเขียวอย่างชัดเจน
(3) ผู้บริหารหรือผู้มีอำนาจจะต้องสามารถอธิบายถึงวัตถุประสงค์และ
จุดมุ่งหมายของการเป็นห้องสมุดสีเขียว
(4) ผู้บริหารหรือผู้มีอำนาจจะต้องมีส่วนในการติดตามผลการปฏิบัติตาม
นโยบายห้องสมุดสีเขียว
หอสมุดวิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี เป็นหน่วยงานภายใต้สำนักหอสมุดกลาง ซึ่งได้กำหนดนโยบายการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม และประกาศใช้ ณ วันที่ 31 ซึ่งได้การอนุมัติจากผู้อำนวยการสำนักหอสมุดกลาง ซึ่งเป็นผู้บริหารสูงสุดของหน่วยงาน และได้ประชาสัมพันธ์แจ้งนโยบายดังกล่าวให้กับบุคลากรของสำนักหอสมุดกลาง เพื่อใช้เป็นแนวทางในการดำเนินงานด้านสิ่งแวดล้อม นอกจากนี้ผู้บริหารยังกำหนดให้มีการติดตามการดำเนินงานของกิจกรรม/โครงการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องทางด้านสิ่งแวดล้อม ในที่ประชุมคณะทำงานฯ ดำเนินงานห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียว เพื่อให้ทราบถึงปัญหา อุปสรรค และวางแผนแนวทางในการดำเนินงานต่อไป โดยคณะทำงานฯ ที่รับผิดชอบในหมวดต่างๆ จะมีการายงานผลการดำเนินงานกิจกรรมต่างๆ ให้ผู้บริหารรับทราบทุกเดือน GL-1.1.3-1 นโยบายพัฒนาสำนักหอสมุดกลางสู่ห้องสมุดสีเขียว
1.1.4 มีการกำหนดแผนการดำเนินงานห้องสมุดสีเขียวประจำปี

(1) รายละเอียดของแผนจะต้องระบุการดำเนินงานครบทุกหมวด
(2) มีการกำหนดเวลาหรือความถี่ของการดำเนินงานแต่ละหมวด
(3) มีการกำหนดแผนดำเนินงานเป็นลายลักษณ์อักษร และได้รับการอนุมัติจากผู้บริหาร
สำนักหอสมุดกลางมีการกำหนดแผนการดำเนินงานห้องสมุดสีเขียว ประจำปี 2567 โดย กำหนดให้บุคลากรทุกคนมีส่วนร่วมในการรับผิดชอบตามแผน มีการกำหนดความถี่ในการดำเนินงานแต่ละหมวดตามความเหมาะสม และแผนดังกล่าวได้รับการอนุมัติจากผู้บริหารสำนักหอสมุดกลางเป็นที่เรียบร้อยGL-1.1.4-1 แผนดำเนินงานห้องสมุดสีเขียว 2567
1.1.5 มีการกำหนดเป้าหมาย และตัวชี้วัดที่ชัดเจนด้านห้องสมุด (ตามเกณฑ์ห้องสมุดสีเขียว) และมีหลักฐานการลงนามอนุมัติและวันที่ประกาศใช้อย่างชัดเจนและเป็นปัจจุบัน ดังนี้

(1) การจัดการและการให้บริการทรัพยากรสารสนเทศ ด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
(2) การส่งเสริมการเรียนรู้เรื่องทรัพยากร สิ่งแวดล้อม และก๊าซเรือนกระจก
(3) การจัดกิจกรรมห้องสมุดสีเขียวร่วมกับเครือข่ายความร่วมมือ
(4) ความพึงพอใจของผู้รับบริการห้องสมุดสีเขียว
สำนักหอสมุดกลางมีการกำหนดเป้าหมายด้านห้องสมุด ประจำปี พ.ศ.2567 ที่มีความสอดคล้องกับเกณฑ์ห้องสมุดสีเขียวดังนี้
1. จัดหาทรัพยากรสารสนเทศด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ให้มีจำนวนเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 100 รายชื่อ
2. จัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้แก่ผู้รับบริการห้องสมุด โดยมีเนื้อหาครอบคลุมทุกหัวข้อดังต่อไปนี้
– การประหยัดพลังงานไฟฟ้า
– การประหยัดน้ำ
– การคัดแยกและใช้ประโยชน์จากขยะหรือวัสดุเหลือใช้
– ก๊าซเรือนกระจก
3. ทำกิจกรรมร่วมกับเครือข่ายความร่วมมือห้องสมุดสีเขียวหรือหน่วยงานอื่น ๆ ในเรื่องที่เกี่ยวกับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ไม่น้อยกว่า 4 ครั้งต่อปี
4. ได้รับคะแนนความพึงพอใจจากผู้รับบริการห้องสมุดไม่น้อยกว่า 4.00
GL-1.1.5-1 เป้าหมายด้านห้องสมุด ประจำปี พ.ศ.2567
1.1.6 มีการกำหนดให้งานห้องสมุดสีเขียว ทั้งด้านห้องสมุด และด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เป็นงานประจำของหน่วยงาน ดังนี้

(1) มีการกำหนดแผนงานห้องสมุดสีเขียวทั้งด้านห้องสมุด และด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมให้เป็นแผนงานประจำของห้องสมุด โดยดำเนินการต่อเนื่องทุกปี

(2) มีการสรุปปัญหาและแนวทางการปรับปรุง เป็นข้อมูลเพื่อกำหนดแผนงานห้องสมุดสีเขียวในปีต่อไป

(3) มีการบูรณาการงานด้านห้องสมุด และงานด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ภายใต้แผนงานพัฒนาห้องสมุดสีเขียว
(4) กำหนดให้งานห้องสมุดสีเขียว เป็นภาระงานของบุคลากรที่ต้องได้รับการประเมิน
สำนักหอสมุดกลางได้กำหนดให้งานห้องสมุดสีเขียวเป็นภาระงานของบุคลากรทุกคน โดยมีสัดส่วนการประเมินภาระงานคิดเป็น 10% ของภาระงานทั้งหมด ผู้บริหารได้กำหนดแผนประจำปีในการดำเนินงาน และจะดำเนินการอย่างต่อเนื่อง ได้มีการสรุปปัญหาและนำมาหารือ เพื่อกำหนดแนวทางในการแก้ปัญหาและปรับปรุงประสิทธิภาพในการทำงานให้ดีขึ้นในที่ประชุมคณะกรรมการพัฒนาห้องสมุดสีเขียวเป็นประจำทุกเดือน
1.1.7 มีการกำหนดนโยบายลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก สอดคล้องกับนโยบายขององค์กร หรือนโยบายของประเทศ หรือนโยบายตามบริบทสากล ดังนี้

(1) มีการกำหนดนโยบายความเป็นกลางทางคาร์บอน ( Carbon Neutrality) หรือ นโยบายการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ (Net Zero) ของห้องสมุด
(2) มีการกำหนดเป้าหมายและแผนงานการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกระยะสั้นและระยะยาวของห้องสมุดที่สอดคล้องกับนโยบายตามข้อ (1)
(3) มีการลด และ/หรือ ชดเชยการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
(4) ผลการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนดในข้อ (2)
GL-1.1.7-1 กำหนดเป้าหมายการจัดการพลังงานและการใช้ทรัพยากร ประจำปี พ.ศ.2567

1.2 คณะทำงานห้องสมุดสีเขียว

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน
1.2.1 มีการแต่งตั้งคณะกรรมการหรือทีมงานห้องสมุดสีเขียวซึ่งประกอบด้วย คณะกรรมการด้านห้องสมุด และคณะกรรมการด้าน
ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม โดยมีแนวทางดำเนินงาน ดังนี้

(1) ผู้บริหารแต่งตั้งคณะกรรมการหรือทีมงานห้องสมุดสีเขียว ซึ่งประกอบด้วยงานด้านห้องสมุดและด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เป็นลายลักษณ์อักษร
และลงนามอนุมัติการแต่งตั้งคณะกรรมการหรือทีมงานจะต้องครอบคลุมทุกหมวด และประกอบด้วยบุคลากร/ผู้แทนจากทุกฝ่ายในหน่วยงาน
(2) กำหนดอำนาจ บทบาท หน้าที่ ความรับผิดชอบของคณะกรรมการหรือทีมงาน อย่างชัดเจน
สำนักหอสมุดกลางได้มีคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียว โดยผู้บริหารได้ลงนามอนุมัติเป็นลายลักษณ์อักษร ทั้งนี้ในคำสั่งแต่งตั้งได้มีการกำหนดบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของคณะกรรมการในแต่ละหมวด โดยมีโครงสร้างเป็นประธานหมวด เลขานุการหมวดและกรรมการประจำหมวดGL 1.2.1-1 แต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาห้องสมุดสีเขียวและสํานักงานสีเขียว สํานักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร
1.2.2 ร้อยละของคณะกรรมการหรือทีมงานห้องสมุดสีเขียว ด้านห้องสมุดที่ดำเนินงานตามบทบาท หน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมาย ดังนี้

(1) ประธาน/หัวหน้า
(2) คณะกรรมการหรือทีมงานด้าน
ห้องสมุด
คณะกรรมการพัฒนาห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียวมีการดำเนินงานตามแผนงานที่ได้รับมอบหมาย โดยมีประธานหมวดต่าง ๆ เป็นผู้รายงานความคืบหน้าในการดำเนินงานในที่ประชุมคณะกรรมการพัฒนาห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียวเป็นประจำทุกเดือน หลังจากนั้นแต่ละหมวดจะมีการประชุมแผนการดำเนินงานภายในหมวด โดยทั้งประธานหมวด เลขานุการหมวดและกรรมการประจำหมวดเพื่อขับเคลื่อนงานต่อไป

1.3 การทบทวนฝ่ายบริหาร

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน
1.3.1 การกำหนดองค์ประชุมทบทวนฝ่ายบริหาร

(1) มีผู้บริหารเข้าร่วมประชุม
(2) มีตัวแทนของแต่ละฝ่าย/แผนก/ส่วนงานที่มีความเกี่ยวข้องกับการดำเนินงานด้านห้องสมุด ในแต่ละหมวดเข้าร่วมประชุม
(3) จำนวนผู้เข้าร่วมประชุมจะต้องมากกว่าร้อยละ 75 ของจำนวนผู้ที่เป็นคณะกรรมการห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียว พร้อมหลักฐานการลงนามเข้าร่วมประชุม
(4) หากผู้ที่จะต้องเข้าประชุมไม่สามารถเข้าร่วมได้ จะต้องมีวิธีการรายงานผลการประชุมให้รับทราบ พร้อมรับข้อเสนอแนะ
เมื่อวันที่ 25 ตุลาคม 2567 ได้มีการจัดประชุมทบทวนฝ่ายบริหาร โดยมีผู้บริหารและบุคลากรเข้าร่วมการประชุมทั้งสิ้น 64 คน ลาประชุม 18 คน โดยมีผู้เข้าร่วมการประชุมคิดเป็นร้อยละ 78 ของบุคลากรทั้งหมด หลังจากการประชุมได้มีการส่งรายงานการประชุมไปยังบุคลากรทุกคนผ่านระบบ D-SarabunGL-1.3.1-1 รายงานการประชุมทบทวนฝ่ายบริหาร

GL-1.3.1-2 ภาพถ่ายการประชุม
1.3.2 มีการกำหนดวาระการประชุมและทำการประชุมทบทวนฝ่ายบริหารดังนี้

(1) มีการประชุมทบทวนฝ่ายบริหารอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
(2) วาระที่ 1 การติดตามผลการประชุมทบทวนฝ่ายบริหารที่ผ่านมาทั้งด้านห้องสมุด และด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
(3) วาระที่ 2 ทบทวนนโยบายห้องสมุดสีเขียว
(4) วาระที่ 3 ความมีประสิทธิภาพของคณะกรรมการหรือทีมงานด้านห้องสมุด และด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม (ความเพียงพอและความเหมาะสม)
(5) วาระที่ 4 การติดตามผลการดำเนินงานด้านห้องสมุด และด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
(6) วาระที่ 5 การเปลี่ยนแปลงที่จะส่งผลกระทบต่อความสำเร็จในการดำเนินงานด้านห้องสมุด และด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
(7) วาระที่ 6 ข้อเสนอแนะจากที่ประชุม และแนวคิดของผู้บริหารต่อการพัฒนาห้องสมุดสีเขียวอย่างต่อเนื่องทั้งด้านห้องสมุดและด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
(8) จัดทำรายงานการประชุมทบทวนฝ่ายบริหาร รายชื่อผู้เข้าประชุมและภาพถ่ายที่แสดงให้เห็นว่ามีการประชุมจริง
การประชุมทบทวนฝ่ายบริหารที่ได้จัดขึ้นในวันที่ 25 ตุลาคม 2567 นั้นมีวาระที่เป็นไปตามข้อกำหนดหมวด 1.3.2 โดยการประชุมเป็นรูปแบบผสมผสานทั้งออนไซด์และออนไลน์

1.4 การตรวจประเมินภายใน (สำหรับหน่วยงานต่ออายุ)

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน
1.4.1 การวางแผนและดำเนินการตรวจประเมินภายใน ด้านห้องสมุด (ด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เป็นไปตามเกณฑ์การประเมินสำนักงานสีเขียว)

(1) มีการแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจประเมินภายใน ด้านห้องสมุด ประกอบด้วย หัวหน้าผู้ตรวจประเมินและผู้ตรวจประเมิน ที่มีความรู้และประสบการณ์เรื่องห้องสมุดสีเขียว
(2) มีการกำหนดความถี่ในการตรวจประเมินภายใน ด้านห้องสมุด อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
(3) มีการจัดทำข้อกำหนดการตรวจประเมินภายใน ด้านห้องสมุดครอบคลุมทุกหมวด
(4) กำหนดให้ ผู้ตรวจประเมินภายในด้านห้องสมุดแต่ละหมวดมีความเพียงพอ

2.1 การอบรมให้ความรู้และประเมินความเข้าใจ

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน
2.1.1 กำหนดแผนการฝึกอบรม ดำเนินการอบรม การประเมินผล และบันทึกประวัติการฝึกอบรม

(1) ระบุหลักสูตรและความถี่การอบรมลงในแผนการฝึกอบรม โดยหลักสูตรครอบคลุมเนื้อหามีรายละเอียดอย่างน้อยดังนี้

– ความสำคัญของห้องสมุดสีเขียว
– การบริหารจัดการห้องสมุดสีเขียวและการลดปริมาณการปล่อยก๊าซ
เรือนกระจก
– การให้บริการที่มีคุณภาพและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

– การจัดหาและการให้บริการทรัพยากรสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม

(2) ดำเนินการฝึกอบรมตามแผนการฝึกอบรมในข้อ (1) โดยผู้รับการอบรมจะต้องมากกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายในแต่ละหลักสูตร
(3) ประเมินผลการฝึกอบรม เช่น ข้อสอบ หรือการประเมินขณะปฏิบัติงาน เป็นต้น
(4) จัดทำประวัติการอบรมของบุคลากร
หอสมุดวิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี ได้กำหนดแผนการอบรม และจัดการอบรมอย่างต่อเนื่อง เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจให้แก่บุคลากรของหอสมุด ในการอบรมแต่ละครั้งจะมีบุคลากรของหอสมุด เข้าร่วมอบรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ในแต่ละหลักสูตร และมีการประเมินความรู้ และความเข้าใจของการอบรมด้วย รวมทั้งจัดเก็บประวัติการอบรมของบุคลากรแต่ละหลักสูตร GL-2.1.1-1 หลักสุตรและแผนการอบรมความรู้ห้องสมุดและสำนักงานสีเขียว ประจำปี 2567

GL-2.1.1-2 ใบลงทะเบียนและสื่อให้ความรู้ในการอบรมความรู้ห้องสมุดสีเขียว

GL-2.1.1-2 ใบลงทะเบียนและสื่อให้ความรู้ในการอบรมการระบุประเด็นปัญหาสิ่งแวดล้อม

GL-2.1.1-3 ตารางแสดงผลการประเมินความรู้และหลักฐานการประเมินผล

GL-2.1.1-4 ประวัติการอบรมของบุคลากรฝ่ายหอสมุดสารสนเทศเพชรบุรี 2567
2.1.2 กำหนดผู้รับผิดชอบด้านการอบรมแต่ละหลักสูตรมีความเหมาะสม

(1) ผู้รับผิดชอบในการอบรมจะต้องมีความรู้ในเนื้อหาการอบรม
(2) ผู้รับผิดชอบในการอบรมจะต้องมีหลักฐานแสดงความสามารถ เช่น ประวัติ หรือประสบการณ์ที่เกี่ยวข้อง
ฝ่ายหอสมุดฯ กำหนดให้มีการอบรมเพื่อเป็นการเพิ่มพูนและทบทวนความรู้การดำเนินงานด้านสิ่งแวดล้อม โดยได้รับความอนุเคราะห์จากวิทยากรที่มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ 2.1.2 (1-3) ประวัติวิทยากร-อ.ฐิติธร

2.1.2 (1-3) ประวัติวิทยากร-อ.สยาม

2.2 การรณรงค์และประชาสัมพันธ์แก่บุคลากร

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน
2.2.1 มีการกำหนดผู้รับผิดชอบและแนวทางสื่อสารเรื่องห้องสมุดสีเขียว

(1) กำหนดหัวข้อและความถี่การสื่อสารอย่างน้อย ดังนี้



(2) กำหนดช่องทางการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับหัวข้อการสื่อสารและองค์กร (ไม่จำกัดจำนวนช่องทาง)
(3) กำหนดกลุ่มเป้าหมายรับเรื่องสื่อสาร
(4) กำหนดผู้รับผิดชอบในการสื่อสาร
ฝ่ายหอสมุดฯ มีการจัดทำแผนการสื่อสารโดยกำหนดช่องทางการสื่อสารด้านสิ่งแวดล้อมให้กับทั้งบุคลากรภายในหอสมุดและผู้ใช้บริการของหอสมุดฯ ทั้งนักศึกษา อาจารย์ บุคลากรและผู้ใช้บริการภายนอก/กำหนดผู้รับผิดชอบ ตามคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียว สำนักหอสมุดกลาง ลงวันที่ 19 มิถุนายน 2567 โดยช่องทางการสื่อประกอบด้วย
1) การประชุมคณะกรรมการพัฒนาห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียว สำนักหอสมุดกลาง
2) เว็บไซต์ www.lib.su.ac.th/green-library
3) เพจ Facebook : www.facebook.com/llibsup/
4) Line official สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร @SU library
5) Line กลุ่ม: หอสมุดวิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี
GL-2.2.1-(1-4) แผนการสื่อสารความรู้และกิจกรรมด้านสิ่งแวดล้อมประจำปี 2567
2.2.2 มีการรณรงค์สื่อสารและให้ความรู้ตามที่กำหนดในข้อ 2.2.1ฝ่ายหอสมุดฯ มีการทำสื่อประชาสัมพันธ์เผยแพร่ตามแผนการสื่อสาร GL-2.2.2 หลักฐานแสดงการสื่อสารตามแผนการสื่อสาร
2.2.3 ร้อยละความเข้าใจนโยบายและการดำเนินงานห้องสมุดสีเขียว (สุ่มอย่างน้อย 4 คน) โดยจะต้องสอบถามบุคลากรแต่ละคนอย่างน้อยตามข้อ 2.2.1 (1)ฝ่ายหอสมุดฯ สร้างความเข้าใจในด้านนโยบายสิ่งแวดล้อมโดยได้ประกาศนโยบายการพัฒนาสำนักหอสมุดกลางสู่ห้องสมุดสีเขียว (SU Green Library) ประกาศมาตรการและการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ประกาศเป้าหมายการจัดการพลังงานและการใช้ทรัพยากร รวมทั้งมีการสื่อสารประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจด้านสิ่งแวดล้อมและการอนุรักษ์พลังงานด้วยGL-2.2.3 รายงานความเข้าใจการสื่อสารและให้ความรู้เรื่องห้องสมุดสีเขียวของบุคลากร
2.2.4 มีช่องทางรับข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็นด้านห้องสมุดสีเขียว และนำมาปรับปรุงแก้ไข โดยต้องมีแนวทางดังนี้

(1) มีช่องทางเพื่อรับข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็นด้านห้องสมุดสีเขียว เช่น ไลน์ เว็บไซต์เฟสบุ๊ค อีเมล์ กล่องรับความคิดเห็น และข้อเสนอแนะจากการประชุม
(2) มีผู้รับผิดชอบในการรับข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็น
(3) มีการแสดงข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็นด้านห้องสมุดสีเขียว
(4) มีการรายงานผลการปรับปรุงจากข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็น และเสนอต่อผู้บริหาร
ฝ่ายหอสมุดฯ มีการจัดทำช่องทางการรับข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็นด้านห้องสมุดสีเขียว เพื่อรับข้อเสนอแนะ ข้อคิดเห็นทั้งจากบุคลากรภายในและภายนอกหอสมุด โดยในรูปแบบ onsite จะประชาสัมพันธ์ QR-Code ไว้มุม SUP Geen Library / เคาน์เตอร์บริการยืม-คืนของหอสมุด และมุมให้บริการสืบคืนทรัพยากรสารสนเทศของหอสมุด OPAC ส่วนในรูปแบบ online จะเผยแพร่ผ่าน Facebook ทั้งนี้หอสมุดฯ มีการขออนุมัติเพื่อกำหนดผู้รับผิดชอบ เพื่อตรวจสอบ ข้อเสนอแนะ/ ข้อคิดเห็นไว้ด้วยGL-2.2.4-(1-4) หลักฐานแสดงผู้รับผิดชอบในการรับข้อเสนอแนะ

3.1 จัดการทรัพยากรสารสนเทศด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ให้เพียงพอและพร้อมใช้

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน
3.1.1 จัดหาทรัพยากรสารสนเทศด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมและเรื่องที่เกี่ยวข้อง โดยดำเนินการดังนี้

(1) สำรวจความต้องการของผู้รับบริการ
(2) จัดหาทรัพยากรสารสนเทศได้ตรงตามความต้องการ และสอดคล้องกับนโยบายของห้องสมุด
(3) ทรัพยากรสารสนเทศมีความทันสมัย
(4) ทรัพยากรสารสนเทศมีความหลากหลายเหมาะสมกับผู้รับบริการแต่ละกลุ่ม
(1) ฝ่ายหอสมุดวิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี มีการสำรวจความต้องการของผู้ใช้บริการของหอสมุดเพื่อจัดหาทรัพยากรสารสนเทศด้านสิ่งแวดล้อมที่ตรงกับความต้องการของผู้ใช้บริการ QR-Code แบบฟอร์มเสนอซื้อทรัพยากรสารสนเทศ Green Library หอสมุดวิทยาเขตสารสนเทศเออนไลน์ เฉพาะขึ้นนอกเหนือจากช่องทางการเสนอซื้อปกติผ่านหน้า OPAC และ ระบบซื้อเสนอทรัพยากรสารสนเทศออนไลน์ของหอสมุด เพื่ออำนวยความสะดวกในการเสนอซื้อทรัพยากรดังกล่าวง่ายยิ่งขึ้น 3.1.1 (1)

(2) ฝ่ายหอสมุดฯ ได้ดำเนินการรวบรวมรายชื่อทรัพยากรสารสนเทศด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม และเรื่องที่เกี่ยวข้อง ตั้งแต่ปี พ.ศ.2563-2567 ทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ ครอบคลุมทั้งหนังสือ, E-Book, บทความวารสาร, วิทยานิพนธ์, บทความในฐานข้อมูล เป็นต้น โดยแสดงประเภท ปีพิมพ์ กลุ่มผู้รับบริการ และรายละเอียดบรรณานุกรมที่จำเป็น แยกตามปีที่ไ้ดำเนินการจัดหาเข้าห้องสมุด
GL-3.1.1-(1) รายงานการสำรวจความต้องการใช้ทรัพยากรสารสนเทศด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม

GL-3.1.1-2-รายชื่อทรัพยากรสารสนเทศด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
3.1.2 ปริมาณทรัพยากรสารสนเทศด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม และเรื่องที่เกี่ยวข้อง เพิ่มขึ้นทุกปี อย่างน้อยปีละ 100 รายชื่อมีการจัดหาทรัพยากรสารสนเทศด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศจำนวน 101 รายการ ครอบคลุมทรัพยากรสารสนเทศประเภทต่างๆ ทั้งหนังสือ, e-Book, และบอร์ดเกม ทั้งที่เป็นสื่อสิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ และสื่อโสตทัศนวัสดุ โดยมีเนื้อหาที่ทันสมัย (ระหว่างปี 2563-2567) GL-3.1.2-(2-4) รายชื่อทรัพยากรสารสนเทศด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
3.1.3 จัดเตรียมทรัพยากรสารสนเทศด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมและเรื่องที่เกี่ยวข้อง ให้พร้อมใช้และสามารถค้นคืนได้โดยง่าย ดังนี้

(1) มีการจัดหมวดหมู่ กำหนดคำสำคัญและคำศัพท์เฉพาะ เพื่อความ
สะดวกในการสืบค้น
(2) ลงรายการบรรณานุกรมและบันทึกข้อมูล หรือจัดทำรายชื่อเพื่อให้
สะดวกต่อการค้นหา
(3) จัดเตรียมทรัพยากรสารสนเทศให้พร้อมสำหรับให้บริการ
(4) ผู้รับบริการสามารถสืบค้นและเข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศได้โดยง่าย
ฝ่ายหอสมุดฯ
(1) มีการจัดหมวดหมู่ตามระบบมาตรฐาน มีกำหนดหัวเรื่องทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ตลอดจนกำหนด Location “ppgnl SUP Green Zone 1st floor” เฉพาะขึ้นมาสำหรับเป็น Location เฉพาะของทรัพยากรในหมวดหมู่ที่มีการจัดวางไว้ในมุม SUP Green Library เพื่อให้สามารถสืบค้นทรัพยากรสารสนเทศทางด้านสิ่งแวดล้อมได้สะดวกยิ่งขึ้น

(2) มีการลงรายการบรรณานุกรมทรัพยากรสารสนเทศ และบันทึกข้อมูลในระบบห้องสมุดอัตโนมัติ ตามมาตรฐานการลงรายการบรรณานุกรม สามารถตรวจสอบรายชื่อทรัพยากรสารสนเทศผ่าน OPAC และเว็บไซต์ www.lib.su.ac.th

(3) มีมุม SUP Green Library ที่ชั้น 1 บริเณเคาน์เตอร์บริการยืม-คืนมีการจัดวางหนังสือด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมไว้ เพื่ออำนวยความสะดวกในการเข้าถึง ทรัพยากรสารสนเทศทางด้านสิ่งแวดล้อม และในระหว่างการปรับปรุงกายภาพของหอสมุด ยังได้มีการย้ายมุมดังกล่าวไปบริการชั่วคราว ที่ชั้น 2 ของหอสมุด เพื่อให้ยังบริการมุมดังกล่าวคงไว้ด้วย

(4) สามารถสืบค้นผ่านฐานข้อมูล OPAC ของหอสมุด ซึ่งหอสมุดได้จัดเตรียมคอมพิวเตอร์สำหรับการสืบค้นไว้บริการครอบคลุมพื้นที่ให้บริการของหอสมุดทั้งชั้น 1 และชั้น 2
GL-3.1.3-(1-4) จัดเตรียมทรัพยากรสารสนเทศด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม

3.2 การให้บริการห้องสมุดที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน
3.2.1 ส่งเสริมการให้บริการและการใช้ทรัพยากรสารสนเทศด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมและเรื่องที่เกี่ยวข้อง ดังนี้

(1) ประชาสัมพันธ์บริการ และแนะนำทรัพยากรสารสนเทศผ่านช่องทาง
ต่างๆ ถึงผู้รับบริการ และหน่วยงานเครือข่ายความร่วมมือ
(2) ตรวจสอบสภาพและจัดการทรัพยากรสารสนเทศให้พร้อมบริการอยู่เสมอ
(3) จัดทำสถิติการยืมหรือการใช้ประโยชน์ทรัพยากรสารสนเทศ
(4) นำนวัตกรรมหรือเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้เพื่อส่งเสริมการให้บริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
ฝ่ายหอสมุดฯ
(1) ส่งเสริมการให้บริการและการใช้ทรัพยากรสารสนเทศด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม โดยการประชาสัมพันธ์บริการ และแนะนำทรัพยากรสารสนเทศด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมผ่านทางช่องทางเฟซบุ๊กของหอสมุดวิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี มหาวิทยาลัยศิลปากร และผ่าน Line official ของสำนักหอสมุดกลาง (3.2.1-(1))

(2) มีการตรวจสอบสภาพและจัดการทรัพยากรสารสนเทศให้พร้อมบริการอยู่เสมอ โดยการขึ้นชั้น/ตรวจชั้นหนังสือ สภาพกายภาพของเล่มหนังสือมุม SUP Green Library และตรวจสอบสภาพและการพร้อมใช้งาน E-Book ตลอดจนมีการขึ้น และตรวจชั้นบริการหนังสือทั้งหนังสือภาษาไทย และภาษาต่างประเทศอย่างสม่ำเสมอเ็นประจำทุกวัน (3.2.1-(2))

(3) มีการดำเนินการรวบรวมสถิติการยืมหรือการใช้ประโยชน์ทรัพยากรสารสนเทศด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมเป็นรายเดือน ตั้งแต่เดือน พ.ค – ต.ค.2567 (3.2.1-(3))

(4) มีการจัดทำ QR-Code เพื่อเป็นช่องทางเข้าถึงการใช้งาน e-Book ตลอดจนขั้นตอนวิธีการเข้าใช้งาน e-Book โดยจัดวางไว้มุม Green Corner เพื่อให้ผู้ใช้สามารถเข้าใช้งาน e-Book ด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมได้สะดวกยิ่งขึ้น (3.2.1-(4))
GL-3.2.1-(1) ประชาสัมพันธ์บริการ และแนะนำทรัพยากรสารสนเทศผ่านช่องทางต่างๆ

GL-3.2.1-2-รายงานผลการตรวจสอบสภาพทรัพยากรสารสนเทศตารางตรวจชั้นหนังสือและตรวจสภาพ-E-Book.pdf

GL-3.2.1-(3) รายงานสถิติการยืมทรัพยากรสารสนเทศด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม

GL-3.2.1-(4) QR-Code การลงชื่อเข้าใช้งาน E-Book
3.2.2 จัดพื้นที่บริการ ให้สอดคล้องกับการเป็นห้องสมุดสีเขียว ดังนี้

(1) สะอาด สวยงาม เป็นระเบียบ
(2) ปลอดภัย

(3) ประหยัดพลังงานและทรัพยากร
(4) จัดพื้นที่บริการโดยสอดแทรกความรู้ และแนวคิดการให้บริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
ฝ่ายหอสมุดฯ
(1)- (3) ได้จัดทำรายงานการดูแลพื้นที่ และกำหนดผู้รับชอบ ความถี่ในการดูแลความสะอาดในแต่ละจุดทั้งเป็นรายวัน รายสัปดาห์ รายเดือน และรายปี เพื่อดูแลความสะอาดและความเรียบร้อยในแต่ละพื้นที่ของชั้น 1 และ 2 อย่างชัดเจน มีการรายงาน และการตรวตจสอบและทำความสะอาดให้ผู้บังคับบัญชาทราบทุกวัน

(4) มีการจัดพื้นที่บริเวณชั้น 1 ของหอสมุดเป็นมุม SUP Green Library เพื่อให้ความรู้และสอดแทรกแนวคิดด้านสิ่งแวดล้อมให้กับผู้ใช้บริการ มีการจัดวางและหมุนเวียนทรัพยากรสารสนเทศทั้งหนังสือ โปสเตอร์ประชาสัมพันธ์ด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม, QR-Code รายชื่อ e-book ด้านสิ่งแวดล้อม เป็นต้น

การจัดหาต้นไม้เพื่อเพิ่มพื้นที่สีเขียวจัดวางไว้ครอบคลุมพื้นที่ทั้งชั้น 1 และชั้น 2 มีสื่อ/ สติ๊กเกอร์รณรงค์ที่สะท้อนถึงมาตรการ และการดำเนินการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมของหอสมุด เช่น ป้ายห้ามสูบบุหรี่ สติกเกอร์ประหยัดไฟฟ้า เวลาเปิดปิดเครื่องปรับอากาศของหอสมุด เป็นต้น
GL-3.2.2-(1-3) จัดพื้นที่บริการ สะอาด สวยงาม เป็นระเบียบ

GL-3.2.2-(4) จัดพื้นที่บริการโดยสอดแทรกความรู้

4.1 การจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้รับบริการ บุคลากร และผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน
4.1.1 จัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านและส่งเสริมการเรียนรู้ด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ให้กับกลุ่มเป้าหมาย ในเรื่องต่อไปนี้

(1) การประหยัดพลังงานไฟฟ้า และการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงานไฟฟ้า

(2) การประหยัดน้ำและการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า
(3) การคัดแยกและใช้ประโยชน์จากขยะหรือวัสดุเหลือใช้ การจัดการของเสียและมลพิษ
(4) ก๊าซเรือนกระจก
ฝ่ายหอสมุดวิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี
จัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านและส่งเสริมการเรียนรู้ด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ทั้งในรูปแบบการจัดกิจกรรมในพื้นที่ของหอสมุด และในรูปแบบออนไลน์ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นทั้งบุคลากรภายในหอสมุด และผู้ใช้บริการหอสมุดทั้งนักศึกษา อาจารย์ บุคลากร และบุคลากรภายนอกหอสมุด โดยมีกิจกรรมต่างๆ ที่หอสมุดจัดขึ้น ดังนี้

(1) (2) การประหยัดพลังงานไฟฟ้า และการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงานไฟฟ้า


ปี 2567
– กิจกรรม SUP Go Green จัดมุมหนังสือ และสื่อความรู้ เพื่อสร้างความตระหนักด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ในงานเพชรบุรี Book fair โดยมีธีมงาน Go Green, Growing Together (ปี 2567) เพื่อเตรียมการขับเคลื่อนการดำเนินงานด้านห้องสมุดสีขียว ของหอสมุด มีการแจกต้นไม้ทั้งพืชผักสวนครัว และไม้ยืนต้นให้ผู้ลงทะเบียนเข้าร่วมงาน และผู้ใหญ่บ้านจำนวน 5 หมู่บ้านในเขตพื้นที่อำเภอชะอำ และท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี เพื่อนำไปแจกจ่ายให้ลูกบ้านสำหรับปลูกเพื่อเป็นการสร้างรายได้และเพิ่มพื้นที่สีเขียวให้กับชุมชน
– กิจกรรมมา “Green กันดุ๊” จัดเป็นกิจกรรมฐานความรู้ในงาน Open house ประจำปี 2567 เพื่อให้ความรู้ด้านการอนุรักษ์พลังงาน และการแยกขยะ กับนักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 134 คน ในวันที่ 9-11 กรกฎาคม 2567 จัดกิจกรรมที่มุม SUP Green Library ชั้น 1 หอสมุดวิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี อาคารวิทยบริการ มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี

– ส่งเสริมการอ่านโดยประชาสัมพันธ์หนังสือด้านสิ่งแวดล้อมและการอนุรักษ์พลังงาน #อ่านหน่อยดุ๊ GO GREEN เผยแพร่ผ่านช่องทาง Facebook หอสมุดฯ เว็บไซต์ www.lib.su.ac.th/green-library/ และ Line Official : SU Library



(3) การคัดแยกและการใช้ประโยชน์จากขยะหรือวัสดุเหลือใช้ ประกอบด้วยกิจกรรม


ปี 2567
– จัดกิจกรรมแข่งขันการแยกขยะ Waste War เพื่อชิงรางวัล โดยมีของรางวัลเป็นแก้ว และถุงผ้ารักษ์โลก


(4) กิจกรรมรณรงค์ก๊าซเรือนกระจก
– กิจกรรม Reuse ยกกำลัง 2 นำกระดาษใช้แล้ว 2 หน้า มาพับถุงยาเพื่อมอบให้กับห้องพยาบาล ของมหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี เพื่อลดปริมาณขยะ และเป็นการใช้กระดาษให้เกิดความคุ้มค่าสูงสุด
– กิจกรรมตอบคำถามด้านสิ่งแวดล้อม ในวันสำคัญด้านสิ่งแวดล้อม เช่น วันโอโซนโลก 16 กันยายน) วันอนุรักษ์ทะเลโลก ( 26 กันยายน ) วันสิ่งแวดล้อมไทย(4 ธันวาคม) เป็นต้น
4.1.2 การมีส่วนร่วมของกลุ่มเป้าหมาย ในกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ดังนี้

(1) ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีจำนวนมากกว่าร้อยละ 80 ของเป้าหมายที่กำหนด
(2) กลุ่มเป้าหมายมีส่วนร่วมในการออกแบบกิจกรรม
(3) กลุ่มเป้าหมายมีส่วนร่วมในการสรุปผลกิจกรรมและการนำไปใช้ประโยชน์

(4) มีการจัดทำใบประกาศหรือใบรับรองให้กับผู้เข้าร่วมกิจกรรมตามเงื่อนไขที่ห้องสมุดกำหนด
ฝ่ายหอสมุดฯ จัดกิจกรรมเพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของกลุ่มเป้าหมาย ในการส่งเสริมการเรียนรู้ด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
(2)(3) กลุ่มเป้าหมายมีส่วนร่วมในการออกแบบกิจกรรม
กลุ่มเป้าหมายในของมหาวิทยาลัย
– นักศึกษาจิตอาสา คณะวิทยาการจัดการจำนวน 9 คน รวมออกแบบและจัดทำโปสเตอรณ์รณรงค์ เพื่อเป็นสื่อความรู้ในการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม จำนวน 9 ชิ้น สำหรับเผยแพร่ในมุม SUP Green Library หอสมุด

Library

(4) มีการจัดทำใบประกาศนียบัตรให้กับนักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรม และผ่านการรับ และประเมินความรู้ความรู้ในกิจกรรม “มากรีนกันดุ๊” ในวันที่ 9-11 กรกฎาคม 2567 จำนวน 130 คน โดยใบประกาศจะจัดทำในรูปอิเล็กทรอนิกส์ และส่งให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมผ่านอีเมล์ที่ผู้เข้าร่วม ได้ลงทะเบียนผ่านระบบออนไลน์ไว้
4.1.3 ความถี่และความสม่ำเสมอในการจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ของห้องสมุดสีเขียว
4.1.4 จัด Green Corner หรือพื้นที่ส่งเสริมการเรียนรู้ของห้องสมุดสีเขียว โดยแสดงข้อมูลต่อไปนี้และมีการปรับปรุงข้อมูลเป็นประจำทุกเดือนเป็นอย่างน้อย

(1) นโยบายห้องสมุดสีเขียว และสำนักงานสีเขียว (ปรับปรุงข้อมูลเมื่อมีการเปลี่ยนแปลง)
(2) ข่าวสาร กิจกรรม มาตรการ ด้านการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อมของห้องสมุด
(3) ผลการดำเนินงานห้องสมุดสีเขียว และแสดงข้อมูลประสิทธิภาพการใช้ พลังงานไฟฟ้า ผลการประหยัดน้ำ การประหยัดทรัพยากร และปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
(4) สื่อความรู้ และเอกสารเผยแพร่ที่เกี่ยวข้องกับทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
มุม SUP Green Library จัดชั้นแสดงหนังสือ มีโต๊ะ เก้าอี้สำหรับนั่งอ่าน และได้แสดงและนำเสนอข้อมูลดังนี้

(1)(2) นโยบายการพัฒนาสำนักหอสมุดกลางเพื่อเป็นห้องสมุดสีเขียว มาตรการการประหยัดพลังงาน และการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ตลอดจนข่าวสาร ประกาศ ได้จัดให้มีการเผยแพร่ที่มุมดังกล่าว และสื่อประชาสัมพันธ์ของห้องสมุด มีการเพิ่มจำนวนเล่มหนังสือตามการจัดหา และเมื่อมีปรับปรุงข้อมูลจากมาตรการ และประกาศ จะดำเนินการเผยแพร่และปรับปรุงข้อมูลในมุมดังกล่าวให้เป็นปัจจุบันด้วย

(3) การนำเสนอผลการดำเนินงานห้องสมุดสีเขียวตามมาตรการต่างๆ และรายงานผลตามประกาศเป้าหมายการจัดการพลังงานและการใช้ทรัพยากร สำนักหอสมุดกลาง

(4) ทรัพยากรสาสน และการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมให้กับผู้ใช้บริการ มีการจัดวางและหมุนเวียนทรัพยากรสารสนเทศทั้งหนังสือ โปสเตอร์เพื่อประชาสัมพันธ์ด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม, QR-Code e-book ด้านสิ่งแวดล้อม เพื่อให้ผู้ใช้สามารถเข้าใช้ทรัพยากรสารสนเทศได้ง่าย

4.2 ประเมินผลการเรียนรู้

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน
4.2.1 ร้อยละของจำนวนกิจกรรมที่มีการประเมินผลการเรียนรู้ ด้านการวัดความรู้ฝ่ายหอสมุดฯ มีการจัดให้มีการประเมินความรู้ก่อน-หลัง เพื่อวัดความรู้ด้านทรัพยากร และการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม กิจกรรมมา “ Green กันดุ๊” จัดเป็นกิจกรรมฐานความรู้ในงาน Open house ประจำปี 2567 เพื่อให้ความรู้ด้านการอนุรักษ์พลังงาน และการแยกขยะ กับนักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 134 คน มีการประเมินผลความรู้ก่อน-หลัง เพื่อนำมาใช้ในการวางแผนการจดกิจกรรมส่งเสริมความรู้ต่อๆ ไป
4.2.2 ร้อยละของจำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมที่ผ่านการประเมินผลการเรียนรู้ ด้านการวัดความรู้จากการเข้าร่วมกิจกรรม (เกณฑ์การวัดความรู้ พิจารณาจากคะแนนผ่านที่ร้อยละ 60)กิจกรรมมา “ Green กันดุ๊” ผู้เข้าร่วมโครงการมีผลการประเมินความรู้ผ่านร้อยละ 100 ของผู้เข้าร่วมกิจกรรม
4.2.3 ร้อยละของจำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมที่มีผลประเมินด้านพฤติกรรมในเชิงบวกหลังเข้าร่วมกิจกรรม โดยจัดกิจกรรมกับกลุ่มเป้าหมาย อย่างน้อย 2 กลุ่ม คือ กลุ่มบุคลากร และกลุ่มผู้รับบริการหรือผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง
4.2.4 การปรับปรุงกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่อง ดังนี้

(1) สรุปผลการจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ทั้งหมดในรอบปี
(2) มีการวิเคราะห์ปัญหา และผลประเมินการเรียนรู้เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการพัฒนากิจกรรม
(3) จัดทำแผนปรับปรุงและพัฒนากิจกรรม
(4) จัดทำรายงานผลการจัดกิจกรรมเสนอผู้บริหารและผู้เกี่ยวข้อง

5.1 หน่วยงานความร่วมมือ

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน
5.1.1 มีความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับด้านการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม ดังนี้

(1) เครือข่ายห้องสมุดสีเขียว
(2) ชมรมห้องสมุดสีเขียว
(3) หน่วยงานภายในองค์กร
(4) หน่วยงานภายนอกองค์กร
ฝ่ายหอสมุดวิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี เป็นสมาชิกเครือข่ายห้องสมุดสีเขียว และชมรมห้องสมุดสีเขียว เพื่อพัฒนาความร่วมมือด้านวิชาการในการดำเนินงานห้องสมุดสีเขียวของหอสมุดฯ ทำให้ได้รับความรู้ด้านการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม

1. เครือข่ายห้องสมุดสีเขียว
1.1 การอบรมออนไลน์แนวทางการอนุรักษ์พลังงานระบบปรับอากาศและเทคโนโลยีเพื่อการประหยัดพลังงาน จัดโดย สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์



2. ชมรมห้องสมุดสีเขียว
2.1 การรับฟังการชี้แจงข้อกำหนดและเกณฑ์มาตรฐานการประเมินสำนักงานสีเขียวและห้องสมุดสีเขียว วันที่ 26 มกราคม 2567
2.2 รับฟังการชี้แจ้งแนวทางตรวจประเมินห้องสมุดสีเขียว เพื่อรับความรู้ความเข้าใจมาตรฐานห้องสมุดสีเขียวและเกณฑ์การประเมินห้องสมุดสีเขียว (ด้านห้องสมุดและด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม) วันที่ 17 ธันวาคม 2567
2.3 อบรมรับความรู้และความเข้าใจมาตรฐานห้องสมุดสีเขียวและเกณฑ์การประเมินห้องสมุดสีเขียว ด้านห้องสมุด ตามเกณฑ์ Green Libraryด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ตามเกณฑ์ Green Officeวันที่ 23 มกราคม 2568

3.หน่วยงานภายในองค์กร
3.1 สำนักหอสมุดกลาง การอบรมให้ความรู้ด้านห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียว เรื่อง “การระบุประเด็นปัญหาทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม” (8 ต.ค. 2567)
3.2 โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การจัดการขยะ และเส้นทางขยะของกองงานวิทยาเขตเพชรบุรีโดยนางสาวแสงจันทร์ คงอิ่ม หัวหน้างานบริหารทั่วไป กองงานวิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี วันที่ 6 สิงหาคม 2567

4. หน่วยงานภายนอกองค์กร
4.1 แลกเปลี่ยนเรียนรู้ การจัดการขยะ และเส้นทางขยะ กองงานวิทยาเขตเพชรบุรี มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี 18 มิถุนายน 2567
4.2 การศึกษาดูงานศูนย์การเรียนรู้ชุมชนปลอดขยะ (Zero Waste) ชุมชนต้นแบบของหมู่บ้านปลอดขยะ บ้านรางพลับ อำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี วันที่ 26 มีนาคม 2567
4.3 ร่วมกิจกรรมปลูกต้นไม้เฉลิมพระเกียรติเนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทร มหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว 72 พรรษา จัดโดยกองงานวิทยาเขตเพชรบุรี วันที่ 25 กรกฎาคม 2567

4.4 โครงการ “อบรมความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม”ณ ห้องบรรยาย ว.1401 อาคารวิทยบริการ มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตเพชรบุรี วันที่ 7 มิถุนายน 2567
4.5 โครงการ “ปลูกสะเดาพืชสมุนไพรเพื่อประโยชน์ทางยาและคาร์บอนเครดิต”ณ บริเวณ ด้านข้างเทวาลัยพระคเณศ มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตเพชรบุรี วันที่ 15 สิงหาคม 2567
GL 5.1.1 หน่วยงานความร่วมมือ

GL-5.1.1-1 หลักฐานการการสมัครเครือข่ายความร่วมมือห้องสมุดสีเขียว
5.1.2 มีความร่วมมือในการดำเนินงานห้องสมุดสีเขียว ร่วมกับหน่วยงานด้านนโยบาย/การบริหาร หน่วยงานด้านกายภาพ ด้านวิจัย และด้านการศึกษา ดังนี้

(1) หน่วยงานด้านนโยบาย/บริหารหรือ หน่วยบริหารงานกลาง เพื่อประสานความร่วมมือด้านนโยบาย แผนงาน งบประมาณ การจัดซื้อจัดจ้าง การจัดการขยะ เป็นต้น
(2) หน่วยงานด้าน กายภาพ เพื่อประสานความร่วมมือด้านอาคาร สถานที่ ระบบงานไฟฟ้า ระบบงานอาคาร ระบบบำบัดน้ำเสีย เป็นต้น
(3) หน่วยงานวิจัย เพื่อประสานความร่วมมือในการนำเทคโนโลยีหรือผลงานวิจัยมาประยุกต์ใช้เพื่อการพัฒนาห้องสมุดสีเขียว
(4) หน่วยงานด้านการศึกษา หรือหน่วยการเรียนการสอน เพื่อประสานความมือในการส่งเสริมการเรียนรู้เรื่องทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
ฝ่ายหอสมุดฯ มีความร่วมมือในการดำเนินงานห้องสมุดสีเขียว ร่วมกับหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกหอสมุด ทั้งในด้านนโยบาย การบริหาร หน่วยงานด้านกายภาพ ด้านการวิจัย และด้านการศึกษา

(1) ฝ่ายหอสมุดฯ ประสานงานด้านนโยบาย แผนงาน งบประมาณ การจัดซื้อจัดจ้าง กับสำนักงานสำนักหอสมุดกลาง ร้านค้าภายในหอสมุดวิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี

(2) มีการประสานงานความร่วมมือด้านอาคารสถานที่ ระบบไฟฟ้า ระบบงานอาคาร ระบบบำบัดน้ำเสีย ร่วมกับสำนักงานสำนักหอสมุดกลาง และกองงานวิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี ภาควิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

(3) ประสานงานขอนำเทคโนโลยีสารสนเทศในการสแกน QR-Code เพื่อแยกขยะจากสำนักงานสำนักหอสมุดกลาง มาติดตั้ง ณ จุดทิ้งขยะภายในหอสมุด เพื่อให้ผู้ใช้บริการของหอสมุดสามารถสแกนประเภทของขยะและทิ้งได้อย่างถูกต้องในถังขยะที่หอสมุดจัดเตรียมไว้

4 ประสานงานความร่วมมือเพื่อประสานความร่วมมือในการส่งเสริมการเรียนรู้เรื่องทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
4.1 ศึกษาดูงานสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบุรีเพื่อศึกษาการดำเนินงานห้องสมุดสีเขียว และสำนักงานสีเขียว
4.2 รวมจัดกิจกรรมชวนน้องเรียนรู้ดูหนังฟังนิทาน กิจกรรมฉายภาพยนตร์ด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรทางทะเล และรณรงค์ไม่ทิ้งขยะในทะเล ให้กับนักเรียนโรงเรียนบ้านดอนมะกอก ต.สามพระยา อ.ชะอำ จ.เพชรบุรี จำนวน 36 คน ณ ห้องฉายภาพยนตร์ SUP Entertainment ชั้น 1 หอสมุดวิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี มหาวิทยาลัยศิลปากร
4.3 รวมจัดกิจกรรมส่งเสริมให้ความรู้เกี่ยวกับการแยกขยะอย่างถูกวิธี และการ DIY ขวดพลาสติกสำหรับใช้เป็นอุปกรณ์ไล่แมลงในแปลงผักอาหารกลางวันให้กับโรงเรียนบ้านหนองเขื่อน ต.สามพระยา อ.ชะอำ จ.เพชรบุรี โดยมีนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาชั้นปีที่ 2, 4-6 เข้าร่วมจำนวน 25 คน
GL 5.1.2 มีความร่วมมือในการดำเนินงานห้องสมุดสีเขียว

5.2 กิจกรรมความร่วมมือ

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน
5.2.1 กิจกรรมความร่วมมือด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม มีดังนี้

(1) เข้าร่วมกิจกรรมที่หน่วยงานความร่วมมือจัด
(2) จัดกิจกรรมและเชิญหน่วยงานความร่วมมือเข้าร่วม
(3) เป็นวิทยากรหรือเป็นพี่เลี้ยงให้กับหน่วยงานอื่น
(4) เป็นสถานที่ศึกษาดูงานด้านห้องสมุดสีเขียว
ฝ่ายหอสมุดฯ
(1) เข้าร่วมกิจกรรมที่ชมรมห้องสมุดสีเขียว เพื่อร่วมเป็นเครือข่ายชมรมห้องสมุดสีเขียว และเข้าร่วมกิจกรรมให้ความรู้ด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมที่หน่วยงานความร่วมมือด้านห้องสมุดสีเขียวจัดขึ้นด้วย
GL-5.2.1-กิจกรรมความร่วมมือ
5.2.2 จำนวนหน่วยงานต่อปี ที่ได้รับการขยายผลการจัดกิจกรรมห้องสมุดสีเขียว เช่น โรงเรียน ชุมชน หรือหน่วยงานต่างๆฝ่ายหอสมุดฯ ขยายผลการจัดกิจกรรมห้องสมุดสีเขียวไปยังโรงเรียนในเขตพื้นที่ใกล้เคียงมหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี อย่างน้อย ปีละ 1 ครั้ง ดังนี้

ปี พ.ศ. 2567
1) โรงเรียนบ้านดอนมะกอก กิจกรรมชวนน้องเรียนรู้ดูหนังฟังนิทาน โดยใช้ฉายภาพยนตร์เ็นสื่อความรู้ในการรรรงค์ด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรทางทะเล และรณรงค์ไม่ทิ้งขยะในทะเล โดยมีนักเรียนรดับชั้นประถมศึกษา ปีที่ 4-6 และคุณครูเข้าร่วมจำนวน 36 คน ในวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2567 ณ ห้ององฉายภาพยนตร์ SUP Entertainment ชั้น 1 หอสมุดวิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี

ปี พ.ศ. 2568
1) โรงเรียนบ้านหนองเขื่อน กิจกรรมปันความสู่จากพี่สู่น้อง เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับการแยกขยะอย่างถูกวิธี และการกิจกรรม DIY ที่ดักแมลงจากขวดพลาสติก สำหรับใช้เป็นอุปกรณ์จับแมลง ในแปลงผักอาหารกลางวันให้กับโรงเรียนบ้านหนองเขื่อน วันศุกร์ที่ 10 มกราคม 2568 โดยมีนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาชั้นปีที่ 2, 4-6 เข้าร่วมจำนวน 25 คน ณ โรงเรียนบ้านหนองเขื่อน ต.สามพระยา อ.ชะอำ จ.เพชรบุรี
GL-5.2.2-จำนวนหน่วยงานขยายผลการจัดกิจกรรมฯ

Edit Template
การดำเนินงานตามเกณฑ์สำนักงานสีเขียว
1.1 การกำหนดนโยบายสิ่งแวดล้อม

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน
1.1.1 มีบริบทองค์กรและขอบเขตของการจัดการสิ่งแวดล้อมในสำนักงาน

(1) มีการกำหนดขอบเขตพื้นที่ของสำนักงาน
(2) มีการกำหนดขอบเขตกิจกรรมของสำนักงาน
สำนักหอสมุดกลางมีการกำหนดขอบเขตพื้นที่อย่างชัดเจน ทั้งพื้นที่ใช้งานรอบอาคารห้องสมุดและพื้นที่ภายในอาคาร สำนักหอสมุดกลางได้ทำการกำหนดจัดทำขอบเขตกิจกรรมของห้องสมุด โดยเน้นประโยชน์แก่ผู้รับบริการเป็นหลัก ทั้งในแง่ของความสะดวก รวดเร็วในการให้บริการ สภาพแวดล้อมที่สะอาดปลอดภัย โดยยังคงประสิทธิภาพในการทำงานของเจ้าหน้าที่และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมGO-1.1.1-1 บริบทหอสมุดวังท่าพระ
1.1.2 นโยบายด้านสิ่งแวดล้อมที่สอดคล้องและครอบคลุมประเด็นตามเกณฑ์การประเมินสำนักงานสีเขียวโดยแสดงความมุ่งมั่นอย่างต่อเนื่อง ดังนี้

(1) การปรับปรุงระบบการจัดการ สิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่อง

(2) การควบคุม ป้องกัน ลดผลกระทบ ด้านการใช้ทรัพยากร พลังงาน และ มลพิษ/ของเสีย รวมไปถึงการจัดซื้อ จัดจ้าง และบริการที่เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม เพื่อนำไปสู่การลดการ ปล่อยก๊าซเรือนกระจก

(3) การปฏิบัติตามกฎหมายและเกณฑ์ การเป็นสำนักงานสีเขียวของกรม ส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม

(4) การสร้างความรู้และความตระหนัก ด้านสิ่งแวดล้อมกับผู้เกี่ยวข้อง
ผู้บริหารฯได้ประกาศนโยบายพัฒนาสำนักหอสมุดกลางสู่ห้องสมุดสีเขียว เมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม 2566 โดยมีรายละเอียดของนโยบายที่ครอบคลุมทั้งในด้านการประหยัดพลังงาน การส่งเสริมการเข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศที่เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม และการสร้างเครือข่ายความร่วมมือ โดยกำหนดให้บุคลากรในหน่วยงานทุกคนมีส่วนในการร่วมผลักดันนโยบายนี้GO-1.1.2-1 นโยบายพัฒนาสำนักหอสมุดกลางสู่ห้องสมุดสีเขียว
1.1.3 การกำหนดนโยบายสิ่งแวดล้อม จากผู้บริหารระดับสูง

(1) นโยบายสิ่งแวดล้อมจะต้องได้รับการอนุมัติจากผู้บริหารสูงสุด หรือผู้ที่ได้รับมอบอำนาจ

(2) มีการระบุวันที่การประกาศใช้นโยบายสิ่งแวดล้อมอย่างชัดเจน

(3) ผู้บริหารหรือผู้มีอำนาจจะต้อง สามารถอธิบายถึงวัตถุประสงค์และ จุดมุ่งหมายด้านสิ่งแวดล้อมของ สำนักงาน

(4) ผู้บริหารหรือผู้มีอำนาจจะต้องมีส่วน ในการติดตามผลการปฏิบัติตาม นโยบายสิ่งแวดล้อมของสำนักงาน
นโยบายพัฒนาสำนักหอสมุดกลางสู่ห้องสมุดสีเขียวได้รับการอนุมัติจากผู้บริหารโดยมีวันประกาศระบุไว้อย่างชัดเจน คือวันที่ 31 พฤษภาคม 2566 ทั้งนี้ผู้บริหารมีส่วนร่วมในการติดตามผลการปฎิบัติงานผ่านการประชุมคณะกรรมการพัฒนาห้องสมุดสีเขียวเป็นประจำทุกเดือน โดยมีรองผู้อำนวยการ สำนักหอสมุดกลางฝ่ายบริหารเป็นประธานในที่ประชุมGO-1.1.3-1 ประกาศนโยบายห้องสมุดสีเขียว
1.1.4 มีการกำหนดแผนการดำเนินงานสำนักงานสีเขียวประจำปี

(1) รายละเอียดของแผนจะต้องระบุการดำเนินงานครบถ้วนทุกหมวด

(2) มีการกำหนดเวลาหรือความถี่ของการดำเนินงานของแต่ละหมวด

(3) มีการกำหนดแผนดำเนินงานเป็นลายลักษณ์อักษร และได้รับการ อนุมัติจากผู้บริหาร
สำนักหอสมุดกลางมีการกำหนดแผนการดำเนินงานสำนักงานสีเขียว ประจำปี 2567 โดย กำหนดให้บุคลากรทุกคนมีส่วนร่วมในการรับผิดชอบตามแผน (บุคลากรทุกคนจะต้องรับผิดชอบงานอย่างน้อยคนละ 1 หมวด) มีการกำหนดความถี่ในการดำเนินงานแต่ละหมวดตามความเหมาะสม และแผนดังกล่าวได้รับการอนุมัติจากผู้บริหารสำนักหอสมุดกลางเป็นที่เรียบร้อย
1.1.5 มีการกำหนดเป้าหมาย และ ตัวชี้วัดที่ชัดเจนด้านการใช้ทรัพยากร พลังงาน และของเสีย และปริมาณก๊าซ เรือนกระจก ดังนี้

(1) การใช้ไฟฟ้า

(2) การใช้น้ำมันเชื้อเพลิง

(3) การใช้น้ำ

(4) การใช้กระดาษ

(5) ปริมาณของเสีย

(6) ปริมาณก๊าซเรือนกระจก
สำนักหอสมุดกลางได้กำหนดค่าเป้าหมายด้านสิ่งแวดล้อมตามประกาศสำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร เรื่อง กำหนดเป้าหมายการจัดการพลังงานและการใช้ทรัพยากร ประจำปี พ.ศ.2567 โดยเน้นความสอดคล้องกับเกณฑ์สำนักงานสีเขียว ดังนี้
1. ลดการใช้พลังงานไฟฟ้าลดลงจากค่าเฉลี่ยปี พ.ศ. 2566 ร้อยละ 2
2. ลดการใช้น้ําลดลงจากค่าเฉลี่ยปี พ.ศ. 2566 ร้อยละ 2
3. ลดการใช้น้ํามันเชื้อเพลิงลดลงจากค่าเฉลี่ย 6 เดือนแรก ปี พ.ศ. 2567 ร้อยละ 2
4. ลดการใช้กระดาษลดลงจากค่าเฉลี่ย 6 เดือนแรก ปี พ.ศ. 2567 ร้อยละ 2
5. ลดปริมาณก๊าซเรือนกระจกลดลงจากค่าเฉลี่ย 6 เดือนแรก ปี พ.ศ. 2567 ร้อยละ 2
6. ลดปริมาณของขยะลดลงจากค่าเฉลี่ย 6 เดือนแรก ปี พ.ศ. 2567 ร้อยละ 5
GO-1.1.5-1 กำหนดเป้าหมายการจัดการพลังงานและการใช้ทรัพยากร ประจำปี พ.ศ.2567

1.2 คณะทำงานด้านสิ่งแวดล้อม

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน
1.2.1 มีการแต่งตั้งคณะกรรมการหรือ ทีมงานด้านสิ่งแวดล้อม โดยมีแนวทางดำเนินงาน ดังนี้

(1) ผู้บริหารแต่งตั้งคณะกรรมการหรือ ทีมงานด้านสิ่งแวดล้อมของสำนักงาน อย่างเป็นลายลักษณ์อักษร และลงนามอนุมัติ โดยคณะกรรมการหรือ ทีมงานจะต้องครอบคลุมทุกหมวด และบุคลากร/ผู้แทนจากทุกฝ่าย ในหน่วยงาน

(2) กำหนดอำนาจ บทบาท หน้าที่รับผิดชอบ ของคณะกรรมการอย่างชัดเจน
สำนักหอสมุดกลางได้มีคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียว โดยผู้บริหารได้ลงนามอนุมัติเป็นลายลักษณ์อักษร ทั้งนี้ในคำสั่งแต่งตั้งได้มีการกำหนดบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของคณะกรรมการในแต่ละหมวด โดยมีโครงสร้างเแต่ละหมวดคือ ประธานหมวด เลขานุการหมวดและกรรมการประจำหมวดGO 1.2.1-1 แต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาห้องสมุดสีเขียวและสํานักงานสีเขียว สํานักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร
1.2.2 ร้อยละของคณะกรรมการ หรือ ทีมงานด้านสิ่งแวดล้อมที่มีความเข้าใจ ในบทบาท และหน้าที่รับผิดชอบ ประเมินจากการสุ่มสอบถามดังนี้

(1) ประธาน/หัวหน้า

(2) คณะกรรมการหรือทีมงานทางด้านสิ่งแวดล้อมที่รับผิดชอบทุกหมวด (สามารถมอบหมายให้ผู้ตรวจ ประเมินแต่ละหมวดสุ่มสอบถามได้)
คณะกรรมการพัฒนาห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียวมีการดำเนินงานตามแผนงานที่ได้รับมอบหมาย โดยมีประธานหมวดต่าง ๆ เป็นผู้รายงานความคืบหน้าในการดำเนินงานในที่ประชุมคณะกรรมการพัฒนาห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียวเป็นประจำทุกเดือน หลังจากนั้นแต่ละหมวดจะมีการประชุมแผนการดำเนินงานภายในหมวด โดยทั้งประธานหมวด เลขานุการหมวดและกรรมการประจำหมวดเพื่อขับเคลื่อนงานต่อไป

1.3 การระบุประเด็นปัญหาทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน
1.3.1 กิจกรรมทั้งหมดของสำนักงาน ภายใต้ขอบเขตการขอการรับรอง สำนักงานสีเขียวจะต้องได้รับการระบุ และประเมินปัญหาสิ่งแวดล้อม

(1) มีการรวบรวมกิจกรรมของสำนักงาน ทั้งทางตรง และทางอ้อม ครบถ้วน ตามกิจกรรม ขอบเขตและบริบท ของสำนักงาน
(2) มีการกำหนดผู้รับผิดชอบที่มีความรู้ ความเข้าใจ
(3) ระบุการใช้พลังงาน ทรัพยากร วัตถุดิบ มลพิษ ของเสีย ของแต่ละ กิจกรรมจะต้องครบถ้วน
(4) ระบุปัญหาสิ่งแวดล้อมทางตรงและ ทางอ้อมครบถ้วน
(5) ระบุปัญหาสิ่งแวดล้อมสภาวะปกติ ผิดปกติ และฉุกเฉินครบถ้วน
(6) มีการพิจารณากฎหมายสิ่งแวดล้อม ที่เกี่ยวข้องกับปัญหาสิ่งแวดล้อม นั้นๆ อย่างครบถ้วนและถูกต้อง
(7) การประเมินเพื่อจัดลำดับความสำคัญ ของปัญหาสิ่งแวดล้อม
(8) มีหลักฐานการกำหนดระยะเวลาใน การทบทวนการระบุประเด็นปัญหา สิ่งแวดล้อม การใช้ทรัพยากรและ พลังงาน อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
(9) กรณีมีการปรับแผน/กิจกรรม หรือมี กิจกรรมเพิ่มเติม (เช่น มีแผนที่จะ ก่อสร้างอาคาร หรือเพิ่มเติมกิจกรรม ของสำนักงานในอนาคตอันใกล้ เป็น ต้น) จะต้องระบุกิจกรรมดังกล่าว ด้วย (ถ้ามี)
สำนักหอสมุดกลางได้ทำการประเมินปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นจากกิจกรรมทั้งหมดภายใต้ขอบเขตของหน่วยงาน ในปี 2567 โดยมีการระบุผู้รับผิดชอบเป็นหัวหน้าฝ่ายหอสมุดวังท่าพระ มีการระบุรูปแบบการใช้วัสดุ อุปกรณ์ และพลังงานในกิจกรรมนั้น ๆ มีการจำแนกปัญหาเป็นแบบทางตรงและทางอ้อม หลังการประเมินพบว่า มีกิจกรรมทั้งสิ้น 15 กิจกรรม ก๊าซเรือนกระจกและฝุ่นละอองเป็นปัจจัยนำออกหลักที่มักจะพบเป็นผลลัพธ์จากหลายกิจกรรม เช่น การทำความสะอาดชั้นหนังสือ การทำความสะอาดเครื่องปรับอากาศ เป็นต้น ได้มีการวิเคราะห์กฎหมายที่มีความสอดคล้องกับกิจกรรมต่างทุกกิจกรรมและพบว่ากิจกรรมส่วนใหญ่ของหน่วยงานมีการดำเนินงานที่สอดคล้องกับกฎหมายGO-1.3.1-1 ตารางวิเคราะห์กระบวนการทํางาน ประจําปี 2567

GO-1.3.1-2 ทะเบียนระบุและประเมินปัญหาสิ่งแวดล้อมด้านทรัพยากร (Input) ปี 2567

GO-1.3.1-3 ทะเบียนระบุและประเมินปัญหาสิ่งแวดล้อมด้านมลพิษ (Output) ปี 2567

GO-1.3.1-4 ทะเบียนจัดลําดับปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีนัยสําคัญ
1.3.2 การวิเคราะห์และแนวทางการ แก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีนัยสำคัญ

(1) มีสรุปรายการปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีนัยสำคัญ

(2) กำหนดมาตรการ คู่มือ หรือแนวทาง ปฏิบัติเพื่อแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีนัยสำคัญ

(3) ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีนัยสำคัญมีการ ดำเนินการตามมาตรการ คู่มือ หรือแนวทางการแก้ไขครบถ้วน
หลังจากการระบุและประเมินปัญหาสิ่งแวดล้อมของกิจกรรมต่าง ๆ ของหน่วยงาน ได้มีการนำปัญหาสิ่งแวดล้อมดังกล่าวมาจัดความสำคัญ พบว่ามีปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีระดับนัยสำคัญระดับปานกลางจำนวน 9 กิจกรรม และปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีระดับนัยสำคัญระดับต่ำจำนวน 6 กิจกรรม ทั้งนี้คณะกรรมการดำเนินงานได้ร่วมกันกำหนดแนวทางในการควบคุมและป้องกันปัญหาต่าง ๆ ไว้สำหรับทุกกิจกรรม เช่น กิจกรรมการพิมพ์เป็นกิจกรรมที่มีปัจจัยนำออกเป็นเสียงดังรบกวน จึงได้เสนอให้แนวทางการควบคุมเป็นการแยกเครื่องพิมพ์ออกจากพื้นที่โต๊ะทำงานเพื่อลดผลกระทบดังกล่าว เป็นต้น

1.4 กฎหมายและข้อกำหนดอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน
1.4.1 มีการรวบรวมกฎหมาย สิ่งแวดล้อมและความปลอดภัยที่ เกี่ยวข้องกับสำนักงาน โดยมีแนวทางการดำเนินงานดังนี้

(1) ผู้รับผิดชอบมีความเข้าใจในการรวบรวม กฎหมายสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้อง

(2) จัดทำรายการกฎหมายที่ครอบคลุมปัญหาสิ่งแวดล้อมและบริบทของ สำนักงาน

(3) สามารถระบุแหล่งที่มาของกฎหมาย และข้อกำหนดอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องได้

(4) สามารถระบุความเกี่ยวข้องของ กฎหมายกับประเด็นปัญหาสิ่งแวดล้อมได้

(5) กฎหมายสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัยที่เกี่ยวข้องจะต้องเป็นปัจจุบัน

(6) มีการรวบรวมและทบทวนกฎหมาย อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง



หมายเหตุ สำนักงานจะต้องค้นหากฎหมายท้องถิ่นเพิ่มเติม

สำนักหอสมุดกลางได้ทำการรวบรวมกฎหมายสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัยที่เกี่ยวข้องกับสำนักงานฉบับปัจจุบันไว้ที่ฐานข้อมูลของหน่วยงาน เช่น พระราชบัญญัติ ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ.2535 หรือ ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง มาตรฐานความเข้มของแสงสว่าง 2561 เป็นต้น และได้จัดทำทะเบียนกฎหมายและข้อกำหนดด้านสิ่งแวดล้อมของหน่วยงานขึ้นผ่านการวิเคราะห์ร่วมกันGO-1.4.1-1 ทะเบียนกฎหมายและข้อกำหนดด้านสิ่งแวดล้อม

1.4.2 ประเมินความสอดคล้องของ กฎหมายกับการดำเนินงานการจัดการ สิ่งแวดล้อมของสำนักงาน โดยมีการดำเนินการดังนี้

(1) ผู้รับผิดชอบมีความเข้าใจในการ ประเมินความสอดคล้องของ กฎหมายกับการดำเนินงานการ จัดการสิ่งแวดล้อม

(2) มีการประเมินความสอดคล้องของ กฎหมายครบถ้วน

(3) มีการอ้างอิงหลักฐานการปฏิบัติตาม กฎหมายอย่างครบถ้วนและถูกต้อง กรณีที่พบว่าการดำเนินงานไม่ สอดคล้องกับกฎหมาย จะต้องมีการ วิเคราะห์สาเหตุ และกำหนดแนว ทางการแก้ไข (ถ้ามี)

(4) มีการกำหนดความถี่ในการประเมิน ความสอดคล้องของกฎหมายอย่าง น้อยปีละ 1 ครั้ง ที่เหมาะสมและมี การปฏิบัติตามที่กำหนดได้
ผลจากการวิเคราะห์พบว่ากิจกรรมส่วนใหญ่ของสำนักหอสมุดกลางมีความสอดคล้องกับกฎหมายสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย เว้นเพียงเรื่องความเข้มของแสงสว่างของพื้นที่ต่าง ๆ ที่พบว่ามีบางพื้นที่ที่มีความสว่างไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานจำนวน 32 จุด (29%) และผ่านเกณฑ์มาตรฐานจำนวน 80 จุด (71%) จึงได้ทำการปรับปรุงความเข้มของแสงสว่างของพื้นที่ที่ไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดยการเปลี่ยนหลอดไฟที่มีความสว่างมากขึ้นและเพิ่มตำแหน่งดวงโคม ผสานไปกับโครงการใช้หลอดไฟฟ้าแบบประหยัดพลังงานด้วย

1.5 ข้อมูลก๊าซเรือนกระจก

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน
1.5.1 การเก็บข้อมูลก๊าซเรือนกระจก จากกิจกรรมในสำนักงาน จะต้องประกอบไปด้วย

(1) ปริมาณการใช้ไฟฟ้า

(2) ปริมาณการใช้เชื้อเพลิงสำหรับการเดินทาง

(3) ปริมาณการใช้น้ำประปา

(4) ปริมาณการใช้กระดาษ

(5) ปริมาณการเกิดของเสีย (ฝังกลบ) (โดยใช้ค่าสัมประสิทธิ์การปลดปล่อยก๊าซ เรือนกระจก (Emission Factor ; EF) ของ องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก ล่าสุด)
สำนักหอสมุดกลางได้ดำเนินการเก็บข้อมูลก๊าซเรือนกระจกโดยครอบคลุมทั้ง 5 ประเภท ตลอดปี 2567 สอดคล้องกับเกณฑ์สำนักงานสีเขียว มีการรายงานข้อมูลดังกล่าวในที่ประชุมคณะกรรมการพัฒนาห้องสมุดสีเขียวเป็นประจำทุกเดือน เพื่อติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน หลังจากนั้นจึงนำผลการดำเนินงานมาวิเคราะห์เพื่อพัฒนาแนวทางการดำเนินงานต่อไปGO 1.5.1-1 ข้อมูลก๊าซเรือนกระจก
1.5.2 ปริมาณก๊าซเรือนกระจกบรรลุเป้าหมาย

กรณีบรรลุเป้าหมาย

(1) สรุปสาเหตุที่นำไปสู่การบรรลุ เพื่อการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง



กรณีไม่บรรลุเป้าหมาย

(1) มีการวิเคราะห์สาเหตุในกรณีที่ไม่บรรลุเป้าหมาย

(2) มีแนวทางการแก้ไขในกรณีที่ไม่ บรรลุเป้าหมาย

(3) มีการติดตามผลหลังแก้ไข
GO 1.5.2-1 ข้อมูลก๊าซเรือนกระจก

GO 1.5.2-2 กำหนดเป้าหมายการจัดการพลังงานและการใช้ทรัพยากร ประจำปี พ.ศ.2567
1.5.3 ร้อยละของพนักงานมีความ เข้าใจและการรับรู้ปริมาณก๊าซเรือนกระจกของสำนักงาน โดยจะต้องสอบถามดังนี้

(1) ความสำคัญของก๊าซเรือนกระจกกับการทำสำนักงานสีเขียว

(2) แนวทางการลดการปล่อยก๊าซเรือน กระจก

(3) ปริมาณก๊าซเรือนกระจกของสำนักงาน เมื่อเปรียบเทียบกับค่าเป้าหมาย
สำนักหอสมุดกลางได้มีการสื่อสารกับบุคลากรเกี่ยวกับก๊าซเรือนกระจกผ่านช่องทางต่างๆอย่างสม่ำเสมอ บุคลากรทุกคนมีส่วนร่วมในการช่วยลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกผ่านการดำเนินงานตามมาตรการต่าง ๆ เช่น มาตรการการควบคุมการใช้พลังงานไฟฟ้า มาตรการการประหยัดน้ำ เป็นต้น และเมื่อการดำเนินงานสิ้นสุดตามกรอบเวลาที่ได้กำหนดจึงได้มีการสื่อสารให้บุคลากรทุกคนทราบ ถึงผลการดำเนินงานเรื่องการปล่อยก๊าซเรือนกระจกเปรียบเทียบกับค่าเป้าหมายของหน่วยงาน

1.6 แผนงานโครงการที่นำไปสู่การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน
1.6.1 การกำหนดวัตถุประสงค์ เป้าหมาย และโครงการสิ่งแวดล้อม จะต้องมีการดำเนินการดังนี้

(1) วัตถุประสงค์ เป้าหมาย จะต้อง สอดคล้องกับนโยบายสิ่งแวดล้อม หรือปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีนัยสำคัญ หรือกฎหมายสิ่งแวดล้อม

(2) วัตถุประสงค์ เป้าหมาย สามารถ วัดผลได้

(3) กิจกรรม/นวัตกรรมที่กำหนดใน โครงการสิ่งแวดล้อมมีความสอดคล้อง กับวัตถุประสงค์และเป้าหมาย

(4) ระยะเวลาการทำโครงการมีความเหมาะสม

(5) โครงการมีการกำหนดผู้รับผิดชอบ อย่างชัดเจน และจะต้องมีความเข้าใจ
จากการตรวจวัดความเข้มของแสงสว่างตามเกณฑ์ 1.4 กฎหมายและข้อกำหนดอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง พบว่ามีบางพื้นที่ที่มีความสว่างต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน ผนวกกับความต้องการตรวจสอบและเปลี่ยนหลอดไฟที่ใช้อยู่ให้เป็นแบบประหยัดไฟ จึงนำไปสู่การดำเนินโครงการการเพิ่มประสิทธิภาพการลดการใช้พลังงานไฟฟ้า โดยมีวัตถุประสงค์ดังนี้
1. เพื่อลดการใช้พลังงานไฟฟ้าของสำนักหอสมุดกลาง
2. เพื่อสร้างค่านิยมและจิตสำนึกในการใช้พลังงาน
โดยมีเป้าหมายดังนี้
1. ใช้พลังงานไฟฟ้าลดลงจากค่าเฉลี่ยในช่วงเวลาเดียวกันของปี 2566 ร้อยละ 2
2. เปลี่ยนหลอดไฟเป็นแบบประหยัดไฟไม่น้อยกว่า 80% ในพื้นที่ให้บริการและสำนักงาน
3. เปลี่ยนหลอดไฟเป็นแบบเซ็นเซอร์จับความเคลื่อนไหวไม่น้อยกว่า 50% ในพื้นที่ทางสัญจร และห้องน้ำ
1.6.2 ผลสำเร็จของวัตถุประสงค์และ เป้าหมาย แนวทางการปรับปรุงอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน

(1) มีแผนการดำเนินโครงการหรือ นวัตกรรมที่ชัดเจน

(2) ดำเนินการตามแผนที่กำหนดไว้ อย่างต่อเนื่อง

3) มีการกำหนดความถี ่ในการติดตามผล และปฏิบัติตามอย่างต่อเนื่อง

(4) มีการติดตามความก้าวหน้าของ โครงการ

(5) ดำเนินการเสร็จสิ้นและบรรลุตาม เป้าหมายที่กำหนด / กรณีที่ไม่บรรลุเป้าหมายมีการทบทวนเพื่อหา สาเหตุและแนวทางแก้ไข

(6) มีการกำหนดแนวทางเพื่อให้เกิด ความต่อเนื่องและยั่งยืนหลังบรรลุ เป้าหมายตามที่กำหนด
สำนักหอสมุดกลางได้มีการกำหนดแผนการดำเนินโครงการอย่างชัดเจน โดยมีการติดตามผลเป็นระยะผ่านที่ประชุมคณะกรรมการพัฒนาห้องสมุดสีเขียว โดยการดำเนินงานในช่วงแรกคือการสำรวจชนิดของหลอดไฟในพื้นที่ที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน พบว่าหลอดไฟทั้งหมดเป็นหลอดประหยัดไฟอยู่แล้ว (เนื่องจากเพิ่งมีการปรับปรุงกายภาพ) ส่วนพื้นที่ห้องน้ำและทางเดินเป็นพื้นที่ที่บริหารจัดการโดยหน่วยงานส่วนกลางของมหาวิทยาลัยศิลปากร จึงมีการปรับรูปแบบการดำเนินโครงการโดยเน้นไปที่การเพิ่มความสว่างให้ได้ตามเกณฑ์มาตรฐาน ได้ดำเนินการเปลี่ยนหลอดไฟให้ความสว่างเป็นไปตามเกณฑ์ และบริเวณพื้นที่โถงทางเข้าได้มีการเพิ่มปริมาณหลอดไฟเพื่อให้ความสว่างเป็นไปตามเกณฑ์เช่นกัน

1.7 การตรวจประเมินสำนักงานสีเขียวภายในสำนักงาน (สำหรับหน่วยงานต่ออายุและขอยกระดับสำนักงานสีเขียว)

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน
1.7.1 การวางแผนและดำเนินการตรวจประเมินสำนักงานสีเขียวภายในสำนักงาน

(1) มีการแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจประเมินสำนักงานสีเขียวภายในสำนักงาน ประกอบด้วย หัวหน้า ผู้ตรวจประเมินและผู้ตรวจประเมิน ซึ่งจะต้องผ่านการฝึกอบรมหลักสูตร การดำเนินงานสำนักงานสีเขียว และหลักสูตรการตรวจประเมินสำนักงาน สีเขียว

(2) มีการกำหนดความถี่ในการตรวจประเมินสำนักงานสีเขียวภายในสำนักงานอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง

(3) มีการจัดทำข้อกำหนดการตรวจประเมินภายในครอบคลุมทุกหมวด

(4) กำหนดผู้ตรวจประเมินภายในแต่ละหมวดมีความเพียงพอและเหมาะสม มีความเป็นอิสระในการตรวจประเมิน อย่างชัดเจน

(5) การดำเนินการตรวจประเมินสำนักงานสีเขียวภายในสำนักงานครบถ้วนทุกหมวด

1.8 การทบทวนฝ่ายบริหาร

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน
1.8.1 การกำหนดองค์ประชุมทบทวนฝ่ายบริหาร

(1) มีผู้บริหารเข้าร่วมประชุม

(2) มีตัวแทนของแต่ละฝ่าย/แผนก/ส่วน งานที่มีความเกี่ยวข้องกับการดำเนินงานในแต่ละหมวดเข้าร่วมประชุม

(3) จำนวนผู้เข้าร่วมการประชุมจะต้อง มากกว่าร้อยละ 75 ของจำนวนผู้ที่เป็นคณะกรรมการสำนักงานสีเขียว พร้อมหลักฐานการลงนามเข้าร่วม ประชุม

(4) หากผู้ที่จะต้องเข้าประชุมไม่สามารถเข้าร่วมได้ จะต้องมีวิธีการรายงาน ผลการประชุมให้รับทราบ พร้อมรับข้อเสนอแนะ
เมื่อวันที่ 25 ตุลาคม 2567 ได้มีการจัดประชุมทบทวนฝ่ายบริหาร โดยมีผู้บริหาร ประธาน เลานุการและกรรมการประจำหมวดเข้าร่วมการประชุมทั้งสิ้น 64 คน ลาประชุม 18 คน โดยมีผู้เข้าร่วมการประชุมคิดเป็นร้อยละ 78 ของบุคลากรทั้งหมด หลังจากการประชุมได้มีการส่งรายงานการประชุมไปยังบุคลากรทุกคนผ่านระบบ D-SarabunGO-1.8.1-1 รายงานการประชุมทบทวนฝ่ายบริหาร

GO-1.8.1-2 ภาพถ่ายการประชุม
1.8.2 มีการกำหนดวาระการประชุม และทำการประชุมทบทวนฝ่ายบริหาร ดังนี้

(1) มีการประชุมทบทวนฝ่ายบริหาร อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง

(2) วาระที่ 1 การติดตามผลการประชุม ทบทวนฝ่ายบริหารที่ผ่านมา

(3) วาระที่ 2 นโยบายสิ่งแวดล้อม

(4) วาระที่ 3 ความมีประสิทธิภาพของ คณะกรรมการหรือทีมงานด้าน สิ่งแวดล้อม (ความเพียงพอและ ความเหมาะสม)

(5) วาระที่ 4 การติดตามผลการ ดำเนินงานด้านสิ่งแวดล้อม การ สื่อสารและข้อคิดเห็นด้านสิ่งแวดล้อม การปฏิบัติตามกฎหมาย รวมถึงแนวทางการแก้ไขปรับปรุง และพัฒนา

(6) วาระที่ 5 การเปลี่ยนแปลงที่จะ ส่งผลกระทบต่อความสำเร็จในการ ดำเนินงานด้านสิ่งแวดล้อม

(7) วาระที่ 6 ข้อเสนอแนะจากที่ประชุม และวิสัยทัศน์ แนวคิดของผู้บริหาร ของการดำเนินงานสำนักงานสีเขียว อย่างต่อเนื่อง

(8) จัดทำรายงานการประชุมทบทวน ฝ่ายบริหาร และภาพถ่ายที่แสดงให้ เห็นว่ามีการประชุมจริง
การประชุมทบทวนฝ่ายบริหารที่ได้จัดขึ้นในวันที่ 25 ตุลาคม 2567 นั้นมีวาระที่เป็นไปตามข้อกำหนดหมวด 1.3.2 โดยการประชุมเป็นรูปแบบผสมผสานทั้งออนไซด์และออนไลน์

2.1 การอบรมให้ความรู้และประเมินความเข้าใจ

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน
2.1.1 กำหนดแผนการฝึกอบรม ดำเนินการอบรม การประเมินผล และ บันทึกประวัติการฝึกอบรม

(1) ระบุหลักสูตรและความถี่การอบรม ลงในแผนการฝึกอบรม โดยหลักสูตร ครอบคลุมเนื้อหามีรายละเอียด อย่างน้อย ดังนี้

– ความสำคัญของสำนักงานสีเขียว

– การใช้พลังงานและทรัพยากร อย่างมีประสิทธิภาพ

– การจัดการมลพิษและของเสีย

– การจัดซื้อจัดจ้างที่เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม

– ก๊าซเรือนกระจก

(2) ดำเนินการฝึกอบรมตามแผนการ ฝึกอบรมในข้อ (1) โดยผู้รับการ อบรมจะต้องมากกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายในแต่ละหลักสูตร

(3) ประเมินผลการฝึกอบรม เช่น ข้อสอบ หรือการประเมินขณะ ปฏิบัติงาน เป็นต้น

(4) จัดทำประวัติการอบรมของพนักงาน
มีแผนการฝึกอบรมเนื้อหา 5 ด้านและดำเนินการตามแผน

  -ฝึกอบรมและฝึกซ้อมอพยพหนีไฟ วันที่ 17 มิ.ย.67 ณ สำนักหอสมุดกลาง วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ หอสมุดท่าพระและหอสมุดวิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี

  -ฝึกอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียว วันที่ 23 ก.ค.2567 ณ สำนักหอสมุดกลาง ชั้น 5 นครปฐม และออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom

ท่านวิทยากร รองศาสตราจารย์ ดร.สยาม อรุณศรีมรกต คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ให้ความรู้กับบุคลากร เรื่องทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
2 โครงการ ดังนี้

  1. สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดโครงการอบรม Go Go SU GREEN LIBRARY เพื่อให้เป็นไปตามนโยบายของสำนักหอสมุดกลาง เห็นควรจัดโครงการอบรมให้ความรู้กับบุคลากรด้านห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียว เพื่อให้บุคลากรตระหนักถึงการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องดังกล่าว นำไปปรับใช้ในการดำเนินงานและในชีวิตประจำวันรวมถึงมีส่วนร่วมในการผลักดันให้ สำนักหอสมุดกลางเป็นห้องสมุดสีเขียวที่มีสภาพแวดล้อมที่น่าอยู่ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและมีการพัฒนาที่ยั่งยืนต่อไป โดย รศ.ดร.สยาม อรุณศรีมรกต คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ ม.มหิดล วันที่ 23 กรกฎาคม 2567 เวลา 09.00-16.30 น. ณ ห้องประชุม 1 ชั้น 5 อาคารหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ และผ่านระบบออนไลน์โปรแกรม Zoom วิทยาเขตวังท่าพระและวิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี

  2. สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดโครงการอบรมการให้ความรู้เรื่องการระบุและประเมินปัญหาสิ่งแวดล้อม เพื่อให้เป็นไปตามนโยบายของสำนักหอสมุดกลาง เห็นควรจัดโครงการอบรมให้ความรู้ กับบุคลากรด้านห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียว เพื่อให้บุคลากรตระหนักถึงการอนุรักษ์พลังงาน และสิ่งแวดล้อม มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการระบุและประเมินปัญหาสิ่งแวดล้อม โดย รศ.ดร.สยาม อรุณศรีมรกต คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ ม.มหิดล วันที่ 8 ตุลาคม 2567 เวลา 08.30-16.30 น.
ณ ห้องประชุม 1 ชั้น 5 อาคารหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์

  3. โครงการอบรมฝึกซ้อมอพยพหนีไฟและปฐมพยาบาลเบื้องต้น ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดโครงการอบรมฝึกซ้อมอพยพหนีไฟและปฐมพยาบาลเบื้องต้น ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 วันที่ 17 มิถุนายน 2567 เวลา 09.00-12.00 น. ณ ห้องประชุม 1 ชั้น 5 อาคารหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ และผ่านระบบออนไลน์โปรแกรม Zoom วิทยาเขตวังท่าพระและวิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี
GO-2.1.1-1 แบบทดสอบความรู้

GO-2.1.1-2 สื่อที่ใช้การสร้างความรู้

GO-2.1.1-3 แผนการอบรมความรู้ด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

GO-2.1.1-4 รายละเอียดการฝึกอบรมด้านสิ่งแวดล้อม

GO-2.1.1-5 หลักฐานการลงทะเบียนอบรม Green SULIB 8 ต.ค. 2567

GO-2.1.1-6 หลักฐานการลงทะเบียนอบรม Green SULIB 23 ก.ค. 2567

GO-2.2.1-7 (1-3) การฝึกอบรม

GO-2.1.1-8 (4) ประวัติการฝึกอบรม
2.1.2 กำหนดผู้รับผิดชอบด้านการ อบรมแต่ละหลักสูตรมีความเหมาะสม

(1) ผู้รับผิดชอบในการอบรมจะต้อง เข้าใจเนื้อหาในการอบรม

(2) ผู้รับผิดชอบในการอบรมจะต้องมี หลักฐานแสดงความสามารถ เช่น ใบรับรองจากหน่วยงานภายนอก หรือ ประวัติ หรือประสบการณ์ (อย่างใดอย่างหนึ่ง)
ประวัติวิทยากร
  รองศาสตราจารย์ ดร.สยาม อรุณศรีมรกต คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
GO-2.1.1-1 ประวัติวิทยากร

GO-2.1.1-2 ประวัติวิทยากร (เพิ่มเติม)

2.2 การรณรงค์และประชาสัมพันธ์แก่พนักงาน

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน
2.2.1 มีการกำหนดผู้รับผิดชอบและแนวทางสื่อสารด้านสิ่งแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกสำนักงาน

(1) กำหนดหัวข้อและความถี่การสื่อสารอย่างน้อย ดังนี้



(2) กำหนดช่องทางการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพกับหัวข้อการสื่อสาร และองค์กร (ไม่จำกัดจำนวนช่องทาง)

(3) กำหนดกลุ่มเป้าหมายรับเรื่องสื่อสาร (ผู้ที่เกี่ยวข้องที่อยู่ภายในและภายนอกสำนักงาน)

(4) กำหนดผู้รับผิดชอบในการสื่อสาร
(1) กำหนดหัวข้อและความถี่การสื่อสาร
หอสมุดวังท่าพระดำเนินจัดทำแผนการประชาสัมพันธ์ โดยกำหนดหัวข้อและความถี่ดังนี้คือ
1. นโยบายสิ่งแวดล้อม – ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลง
2. ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีนัยสำคัญและการจัดการ – ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลง
3. การปฏิบัติตามกฎหมาย – ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลง
4. ความสะอาดและความเป็นระเบียบ (5ส.) – ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลง
5. เป้าหมายและมาตรการพลังงานทรัพยากร – ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลง
6. เป้าหมายและมาตรการจัดการของเสีย – ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลง
7. ผลการใช้ทรัพยากร พลังงาน และของเสีย – ทุกเดือน
8. สินค้าและบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม – ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลง
9. ก๊าซเรือนกระจก – ทุกเดือน

(2) กำหนดช่องทางการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพกับหัวข้อการสื่อสารและองค์กร
หอสมุดวังท่าพระกำหนดช่องทางการสื่อสารโดยเลือกช่องทางที่มีประสิทธิภาพที่สุดของกลุ่มเป้าหมายแต่ละกลุ่มโดยมีช่องทางหลักดังนี้ คือ Line กลุ่มบุคลากรหอสมุดวังท่าพระ, Facebook, Instagram, Website สำนักหอสมุดกลาง และ TV ประชาสัมพันธ์ภายในอาคารหอสมุด

(3) กำหนดกลุ่มเป้าหมายรับเรื่องสื่อสาร
หอสมุดวังท่าพระกำหนดกลุ่มเป้าหมายในการรับเรื่องสื่อสารโดยแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่
– กลุ่มผู้รับสารภายใน คือ บุคลากรหอสมุดวังท่าพระ
– กลุ่มผู้รับสารภายนอก คือ นักศึกษา อาจารย์ บุคลากรมหาวิทยาลัยศิลปากรวังท่าพระ และ ผู้ใช้บริการหอสมุดจากภายนอก

(4) กำหนดผู้รับผิดชอบในการสื่อสาร
หอสมุดวังท่าพระดำเนินการกำหนดผู้รับผิดชอบการสื่อสารด้านสิ่งแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกสำนักงานโดยยึดตามคำสั่งสำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร เลขที่ 0027/2567 เรื่องการแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียว สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร

   สำนักหอสมุดกลางมีการรณรงค์สื่อสารและให้ความรู้ตามแผนการสื่อสารด้านสิ่งแวดล้อมประจำปี 2567 ในหัวข้อต่างๆ ได้แก่ นโยบายสิ่งแวดล้อม ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีนัยสำคัญ การปฏิบัติตามกฎหมาย ความสะอาดและความเป็นระเบียบ 5ส เป้าหมายและมาตรการใช้ทรัพยากร เป้าหมายและมาตรการจัดการของเสียผลการใช้ทรัพยากร พลังงาน ของเสีย สินค้าและบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และปริมาณก๊าซเรือนกระจกโดยได้มีการรณรงค์สื่อสารในหลากกลายช่องทาง เช่น สื่อสิ่งพิมพ์สื่ออิเล็กทรอนิกส์และสื่อบุคคล ซึ่งสามารถ
แสดงหลักฐานการรณรงค์สื่อสาร ดังนี้

   – สื่อสิ่งพิมพ์ : โปสเตอร์

   – สื่ออิเล็กทรอนิกส์ : เว็บไซต์ Social Media: Facebook Group / Line Group
https://lib.su.ac.th/direction-green/

   – สื่อบุคคล : การประชุมฝ่าย/งาน ทั้งรูปแบบปกติและการประชุมออนไลน์และสื่อวิดีโอให้ความรู้ : โปสเตอร์, สติกเกอร์รณรงค์
 - การจัดการพลังงานและการใช้ทรัพยากร

หลักฐาน GO. 2.2.1 แผนการประชาสัมพันธ์

GO-2.2.1-1 แผนการประชาสัมพันธ์ GREEN ปี 2567

GO-2.2.1-2 การรณรงค์สื่อสารและให้ความรู้ตามแผนการสื่อสาร
2.2.2 มีการรณรงค์สื่อสารและให้ ความรู้ตามที่กำหนดในข้อ 2.2.1หอสมุดวังท่าพระดำเนินการรณรงค์ประชาสัมพันธ์ตามแผนที่กำหนดไว้ ดังนี้
1. นโยบายสิ่งแวดล้อม – ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลง
2. ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีนัยสำคัญและการจัดการ – ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลง
3. การปฏิบัติตามกฎหมาย – ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลง
4. ความสะอาดและความเป็นระเบียบ (5ส.) – ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลง
5. เป้าหมายและมาตรการพลังงานทรัพยากร – ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลง
6. เป้าหมายและมาตรการจัดการของเสีย – ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลง
7. ผลการใช้ทรัพยากร พลังงาน และของเสีย – ทุกเดือน
8. สินค้าและบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม – ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลง
9. ก๊าซเรือนกระจก – ทุกเดือน

2.2.1 มีการกำหนดผู้รับผิดชอบและแนวทางสื่อสารด้านสิ่งแวดล้อมทั้งภายในและภายนนอกสำนักงาน

(1) กำหนดหัวข้อและความถี่การสื่อสาร เอกสารประกอบ : แผนการสื่อสารด้านสิ่งแวดล้อมประจำปี 2567

(2) กำหนดช่องทางการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพกับหัวข้อการสื่อสารและองค์กร

  - เอกสารแนบ รายงานผลการประชุมการกำหนดและการทบทวนช่องทางการสื่อสารองค์กรด้านสำนักงานสีเขียว
ช่องทางการสื่อสารกับบุคลากร

   1. สื่อสิ่งพิมพ์ : โปสเตอร์

   2. สื่ออิเล็กทรอนิกส์ : เว็บไซต์/ ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ d-Saraban / Social Media : Facebook / Line

   3. สื่อบุคคล : การประชุมฝ่าย/งาน ทั้งรูปแบบปกติและการประชุมออนไลน์

ช่องทางการสื่อสารกับผู้รับบริการ

   1. สื่อสิ่งพิมพ์ : โปสเตอร์

   2. สื่ออิเล็กทรอนิกส์ : เว็บไซต์/ Social Media : Facebook Fanpage

(3) กำหนดกลุ่มเป้าหมายรับเรื่องสื่อสาร (รายงานในแผนการสื่อสารฯ)

(4) กำหนดผู้รับผิดชอบในการสื่อสาร
GO-2.2.2-1 รณรงค์สื่อสาร ให้ความรู้

หลักฐาน GO 2.2.2 มีการรณรงค์สื่อสารและให้ความรู้ตามที่กำหนด
2.2.3 ร้อยละความเข้าใจนโยบาย สิ่งแวดล้อมและการดำเนินงาน สำนักงานสีเขียว (สุ่มอย่างน้อย 4 คน) โดยจะต้องสอบถามพนักงานแต่ละคน อย่างน้อยตามข้อ 2.2.1 (1)ร้อยละความเข้าใจนโยบายสิ่งแวดล้อมและการดำเนินงานสำนักงานสีเขียว (สุ่มอย่างน้อย 4 คน) โดยจะต้องสอบถามบุคลากรแต่ละคนอย่างน้อยตามข้อ 2.2.1 (1)
– ณ วันตรวจประเมิน –
GO-2.2.3-1 ร้อยละความเข้าใจนโยบายสิ่งแวดล้อมและการดำเนินงานสำนักงานสีเขียว (สุ่มอย่างน้อย 4 คน)
2.2.4 มีช่องทางรับข้อเสนอแนะ/ ข้อคิดเห็นด้านสิ่งแวดล้อม และนำมา ปรับปรุงแก้ไข โดยต้องมีแนวทางดังนี้

(1) มีช่องทางเพื่อรับข้อเสนอแนะ/ ข้อคิดเห็นด้านสิ่งแวดล้อม เช่น ไลน์ QR Code การประชุม เว็บไซต์

(2) มีผู้รับผิดชอบในการรับข้อเสนอแนะ/ ข้อคิดเห็น

(3) มีการแสดงข้อเสนอแนะด้าน สิ่งแวดล้อมและการจัดการ

(4) มีการรายงานข้อเสนอแนะและการ จัดการแก่ผู้บริหาร (บรรยายให้ เหมาะสม)
(1) มีช่องทางเพื่อรับข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็นด้านสิ่งแวดล้อม เช่น ไลน์ QR Code การประชุม เว็บไซต์
สำนักหอสมุดกลาง เปิดรับข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็นด้านสิ่งแวดล้อม ใน 2 ช่องทางคือ
1) ช่องทางระบบรับฟังเสียงของลูกค้า หรือ ระบบรับฟังเสียงของลูกค้า (VOC)
ติด Qr Code เพื่อรับข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็นด้านสิ่งแวดล้อม ทั้งภายในและภายนอกอาคารสำนักหอสมุดกลาง เพื่ออำนวยความสะดวกในการแจ้งข้อเสนอแนะ
2) ช่องทาง Line Official สำหรับผู้ใช้บริการ และ Line Group ภายในสำหรับผู้ปฏิบัติงานของสำนักหอสมุดกลาง

จากรายงานการประชุมคณะกรรมการฯ ทุกครั้งในการประชุมรายงานผล
– ไม่พบข้อร้องเรียน –
ฟอร์มรับข้อเสนอแนะด้านสิ่งแวดล้อม สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร
(Suggestion e-Form SU GREEN LIBRARY)
GO-2.2.4-1 ช่องทางรับข้อเสนอแนะ ข้อคิดเห็นด้านห้องสมุดสีเขียว

GO-2.2.4-2 Flowchart การจัดการข้อเสนอแนะด้านสิ่งแวดล้อม

3.1 การใช้น้ำ

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน
3.1.1 มาตรการหรือแนวทางใช้น้ำมีความเหมาะสมกับสำนักงาน

จะต้องประกอบไปด้วยรายละเอียดดังนี้

(1) การสร้างความตระหนักในการใช้น้ำ

(2) การกำหนดเวลาการใช้น้ำ เช่น เวลารดน้ำต้นไม้ เป็นต้น

(3) การกำหนดรูปแบบการนำน้ำกลับมาใช้ใหม่

(4) การเปลี่ยนอุปกรณ์ประหยัดน้ำ
สำนักหอสมุดกลางดำเนินการกำหนด มาตรการและแนวทางใช้น้ำมีความเหมาะสมกับหอสมุดวังท่าพระ

โดยประกอบไปด้วยรายละเอียดดังนี้

(1) การสร้างความตระหนักในการใช้น้ำ

(2) การกำหนดเวลาการใช้น้ำ เช่น เวลารดน้ำต้นไม้ เป็นต้น

(3) การกำหนดรูปแบบการนำน้ำกลับมาใช้ใหม่

(4) การเปลี่ยนอุปกรณ์ประหยัดน้ำ
หลักฐาน GO.3.1.1 มาตรการและแนวทางการใช้น้ำ
3.1.2 มีการจัดทำข้อมูลการใช้น้ำต่อหน่วยเปรียบเทียบกับเป้าหมาย

การเก็บข้อมูล กรณีบรรลุเป้าหมาย

(1) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำแต่ละเดือน

(2) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำต่อหน่วย

(3) บรรลุเป้าหมาย

(4) สรุปสาเหตุที่นำไปสู่การบรรลุ เพื่อการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง



การเก็บข้อมูล กรณีไม่บรรลุเป้าหมาย

(1) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำแต่ละเดือน

(2) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำต่อหน่วย

(3) มีการวิเคราะห์สาเหตุและแนวทางแก้ไข
หอสมุดวังท่าพระดำเนินการจัดทำข้อมูลการใช้น้ำเพื่อเปรียบเทียบกับเป้าหมายตามประกาศสำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร เรื่อง กำหนดเป้าหมายการจัดการพลังงานและการใช้ทรัพยากร ประจำปี พ.ศ.2567 สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร ซึ่งกำหนดเป้าหมายการใช้น้ำลดลงจากค่าเฉลี่ยปี พ.ศ.2566 ร้อยละ 2
หลักฐาน GO.3.1.2 ประกาศเป้าหมายการจัดการพลังงานและการใช้ทรัพยากร ประจำปี พ.ศ.2567

(1) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำแต่ละเดือน

(2) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำต่อหน่วย

(3) หอสมุดวังท่าพระบรรลุเป้าหมาย ลดการใช้น้ำจากค่าเฉลี่ยปี พ.ศ.2566 ร้อยละ 2 โดยในปี 2567 สามารถลดได้ ร้อยละ 13.5

(4) สรุปสาเหตุที่นำไปสู่การบรรลุ เพื่อการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง หลักฐาน SUTGO.3.1.2(1)-(4)
หลักฐาน GO.3.1.2 ประกาศเป้าหมายการจัดการพลังงานและการใช้ทรัพยากร ประจำปี พ.ศ.2567


หลักฐาน SUTGO.3.1.2(1)-(4)
3.1.3 ร้อยละของการปฏิบัติตามมาตรการประหยัดน้ำในพื้นที่ทำงาน (ประเมินจากพฤติกรรมของบุคลากรในพื้นที่)บุคลากรหอสมุดวังท่าพระดำเนินการตามมาตรการและแนวทางใช้น้ำ อย่างต่อเนื่องGO.3.1.3 ร้อยละการปฏิบัติตามมาตรการ

3.2 การใช้พลังงาน

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน
3.2.1 มาตรการหรือแนวทางการใช้ไฟฟ้าเหมาะสมกับสำนักงาน

จะต้องประกอบไปด้วยรายละเอียดดังนี้

(1) การสร้างความตระหนักในการใช้ไฟฟ้า

(2) การกำหนดเวลาการใช้ไฟฟ้า เช่น เวลาการเปิด – ปิด เป็นต้น

(3) การใช้พลังงานทดแทน

(4) การเปลี่ยนอุปกรณ์ประหยัดไฟฟ้า
สำนักหอสมุดกลางดำเนินการกำหนดมาตรการหรือแนวทางใช้ไฟฟ้ามีความเหมาะสมกับหอสมุดวังท่าพระ
โดยประกอบไปด้วยรายละเอียดดังนี้คือ

(1) การสร้างความตระหนักในการใช้ไฟฟ้า

(2) การกำหนดเวลาการใช้ไฟฟ้า เช่น เวลาการเปิด – ปิด เป็นต้น

(3) การใช้พลังงานทดแทน

(4) การเปลี่ยนอุปกรณ์ประหยัดไฟฟ้า
หลักฐาน GO.3.2.1 มาตรการการใช้ไฟฟ้า
3.2.2 มีการจัดทำข้อมูลการใช้ไฟฟ้าต่อหน่วยเปรียบเทียบกับเป้าหมาย

การเก็บข้อมูล กรณีบรรลุเป้าหมาย

(1) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้ไฟฟ้าแต่ละเดือน

(2) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้ไฟฟ้าต่อหน่วย

(3) บรรลุเป้าหมาย

(4) สรุปสาเหตุที่นำไปสู่การบรรลุ เพื่อการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง



การเก็บข้อมูล กรณีไม่บรรลุเป้าหมาย
(1) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้ไฟฟ้าแต่ละเดือน
(2) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้ไฟฟ้าต่อหน่วย
(3) มีการวิเคราะห์สาเหตุและแนวทางแก้ไข
หอสมุดวังท่าพระดำเนินการจัดทำข้อมูลการใช้ไฟฟ้าเพื่อเปรียบเทียบกับเป้าหมายตามประกาศสำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร เรื่อง กำหนดเป้าหมายการจัดการพลังงานและการใช้ทรัพยากร ประจำปี พ.ศ.2567 สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร ซึ่งกำหนดเป้าหมายการใช้พลังงานไฟฟ้าลดลงจากค่าเฉลี่ยปี พ.ศ.2566 ร้อยละ 2 [หลักฐาน GO.3.2.2 ประกาศเป้าหมายการจัดการพลังงานและการใช้ทรัพยากร ประจำปี พ.ศ.2567]

(1) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้ไฟฟ้าแต่ละเดือน

(2) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้ไฟฟ้าต่อหน่วย

(3) หอสมุดวังท่าพระบรรลุเป้าหมาย ลดการใช้พลังงานไฟฟ้าจากค่าเฉลี่ยปี พ.ศ.2566 ร้อยละ 2 โดยในปี 2567 สามารถลดได้ ร้อยละ 8.3

(4) สรุปสาเหตุที่นำไปสู่การบรรลุ เพื่อการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
[หลักฐาน GO.3.2.2 ประกาศเป้าหมายการจัดการพลังงานและการใช้ทรัพยากร ประจำปี พ.ศ.2567]


SUTGO3.2.2 มีการจัดทำข้อมูลการใช้ไฟฟ้าต่อหน่วยเปรียบเทียบกับเป้าหมาย (1)-(4)
3.2.3 ร้อยละของการปฏิบัติตามมาตรการประหยัดไฟฟ้าในพื้นที่ทำงาน (ประเมินจากพฤติกรรมของบุคลากรในพื้นที่)บุคลากรหอสมุดวังท่าพระดำเนินการตามมาตรการและแนวทางใช้ไฟฟ้า อย่างต่อเนื่องSUTGO-3.2.1 การปฏิบัติตามมาตรการประหยัดไฟฟ้า
3.2.4 มาตรการหรือแนวทางการใช้ น้ำมันเชื้อเพลิงในการเดินทางที่เหมาะสมกับสำนักงาน ดำเนินการดังนี้

(1) การสื่อสารผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์

(2) การวางแผนการเดินทาง

(3) การซ่อมบำรุงดูแลยานพาหนะ

(4) การใช้จักรยานหรือขนส่งสาธารณะมาทำงาน
สำนักหอสมุดกลางดำเนินการกำหนดมาตรการหรือแนวทางใช้น้ำมันเชื้อเพลิงในการเดินทางที่มีความเหมาะสมกับหอสมุดวังท่าพระ
โดยประกอบไปด้วยรายละเอียดดังนี้คือ

(1) การสื่อสารผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์

(2) การวางแผนการเดินทาง

(3) การซ่อมบำรุงดูแลยานพาหนะ

(4) การใช้จักรยานหรือขนส่งสาธารณะมาทำงาน
หลักฐาน GO.3.2.4 มาตรการการใช้น้ำมันเชื้อเพลิง
3.2.5 มีการจัดทำข้อมูลการใช้น้ำมัน เชื้อเพลิงต่อหน่วยเปรียบเทียบกับเป้าหมาย

การเก็บข้อมูล กรณีบรรลุเป้าหมาย

(1) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงแต่ละเดือน

(2) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงต่อหน่วย

(3) บรรลุเป้าหมาย

(4) สรุปสาเหตุที่นำไปสู่การบรรลุเพื่อการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง



การเก็บข้อมูล กรณีไม่บรรลุเป้าหมาย

(1) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงแต่ละเดือน

(2) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงต่อหน่วย

(3) มีการวิเคราะห์สาเหตุและแนวทางแก้ไข
หอสมุดวังท่าพระดำเนินการจัดทำข้อมูลการใช้การใช้น้ำมัน เชื้อเพลิงเพื่อเปรียบเทียบกับเป้าหมายตามประกาศสำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร เรื่อง กำหนดเป้าหมายการจัดการพลังงานและการใช้ทรัพยากร ประจำปี พ.ศ.2567 สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร ซึ่งกำหนดเป้าหมายการใช้พลังงานไฟฟ้าลดลงจากค่าเฉลี่ยปี พ.ศ.2566 ร้อยละ 2 [หลักฐาน GO.3.2.5 ประกาศเป้าหมายการจัดการพลังงานและการใช้ทรัพยากร ประจำปี พ.ศ.2567]

(1) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงแต่ละเดือน

(2) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงต่อหน่วย

(3) บรรลุเป้าหมาย

(4) สรุปสาเหตุที่นำไปสู่การบรรลุเพื่อการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
SUT_GO 3.2.5 (1) บันทึกการใช้น้ำมันเชื้อเพลิง

3.3 การใช้ทรัพยากรอื่น ๆ

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน
3.3.1 มาตรการหรือแนวทางการใช้กระดาษที่เหมาะสมกับสำนักงาน จะต้องประกอบไปด้วยรายละเอียดดังนี้

(1) การสร้างความตระหนักในการใช้กระดาษ

(2) การกำหนดรูปแบบการใช้กระดาษ

(3) การใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์

(4) การนำกระดาษกลับมาใช้ใหม่
สำนักหอสมุดกลางดำเนินการกำหนดมาตรการหรือแนวทางใช้การใช้กระดาษที่เหมาะสมหอสมุดวังท่าพระ
โดยประกอบไปด้วยรายละเอียดดังนี้คือ

(1) การสร้างความตระหนักในการใช้กระดาษ

(2) การกำหนดรูปแบบการใช้กระดาษ

(3) การใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์

(4) การนำกระดาษกลับมาใช้ใหม่
หลักฐาน GO.3.3.1 มาตรการการใช้กระดาษ
3.3.2 มีการจัดทำข้อมูลการใช้กระดาษ ต่อหน่วยเปรียบเทียบกับเป้าหมาย

การเก็บข้อมูล กรณีบรรลุเป้าหมาย

(1) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้กระดาษแต่ละเดือน

(2) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้กระดาษต่อหน่วย

(3) บรรลุเป้าหมาย

(4) สรุปสาเหตุที่นำไปสู่การบรรลุ เพื่อการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง



การเก็บข้อมูล กรณีไม่บรรลุเป้าหมาย

(1) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้กระดาษแต่ละเดือน

(2) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้กระดาษต่อหน่วย

(3) มีการวิเคราะห์สาเหตุและแนวทางแก้ไข
หอสมุดวังท่าพระดำเนินการจัดทำข้อมูลการใช้กระดาษเพื่อเปรียบเทียบกับเป้าหมายตามประกาศสำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร เรื่อง กำหนดเป้าหมายการจัดการพลังงานและการใช้ทรัพยากร ประจำปี พ.ศ.2567 สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร ซึ่งกำหนดเป้าหมายการใช้กระดาษลดลงจากค่าเฉลี่ยปี พ.ศ.2566 ร้อยละ 2 [หลักฐาน GO.3.3.2 ประกาศเป้าหมายการจัดการพลังงานและการใช้ทรัพยากร ประจำปี พ.ศ.2567]


(1) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้กระดาษแต่ละเดือน

(2) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้กระดาษต่อหน่วย

(3) บรรลุเป้าหมาย

(4) สรุปสาเหตุที่นำไปสู่การบรรลุ เพื่อการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง

SUTGO.03.3.2 การจัดทำข้อมูลการใช้กระดาษ-ต่อหน่วยเปรียบเทียบกับเป้าหมาย (1)-(4)
หลักฐาน GO.3.3.2 ประกาศเป้าหมายการจัดการพลังงานและการใช้ทรัพยากร ประจำปี พ.ศ.2567

SUTGO.03.3.2 การจัดทำข้อมูลการใช้กระดาษ-ต่อหน่วยเปรียบเทียบกับเป้าหมาย (1)-(4)
3.3.3 ร้อยละของการปฏิบัติตามมาตรการประหยัดกระดาษในพื้นที่ทำงาน (ประเมินจากพฤติกรรมของบุคลากรในพื้นที่)สำนักหอสมุดกลางกำหนด มาตรการการใช้กระดาษ /หมึกพิมพ์โดยมีประเด็นสำคัญดังนี้
1. ประชาสัมพันธ์ผ่านช่องทางต่าง ๆ ให้บุคลากรตระหนักถึงความสำคัญของการประหยัดกระดาษ
2. ใช้กระดาษเท่าที่จำเป็นเท่านั้น และใช้กระดาษทั้ง 2 หน้า
3. เมื่อต้องการพิมพ์เอกสาร ให้ตรวจสอบความถูกต้องก่อนสั่งพิมพ์เพื่อลดการสูญเสียกระดาษ
4. บำรุงรักษาเครื่องพิมพ์และเครื่องถ่ายเอกสารอย่างสม่ำเสมอ เพื่อลดการสูญเสียกระดาษ
5. ใช้ระบบ d-Saraban หรือสื่ออิเล็คทรอนิกสต่าง ๆ ในการสื่อสารภายในองค์กร
6. จัดทำสถิติการใช้กระดาษทุกเดือน

โดยหอสมุดวังท่าพระดำเนินการตามมารตรการครบทั้ง 6 ข้อ คิดเป็นร้อยละ 100
3.3.4 มาตรการหรือแนวทางการใช้หมึกพิมพ์ อุปกรณ์เครื่องเขียน วัสดุ อุปกรณ์เหมาะสมกับสำนักงาน จะต้องประกอบไปด้วยรายละเอียดดังนี้

(1) การสร้างความตระหนักในการใช้

(2) การกำหนดรูปแบบการใช้

(3) การใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์
สำนักหอสมุดกลางดำเนินการกำหนดมาตรการหรือแนวทางใช้การใช้กระดาษที่เหมาะสมหอสมุดวังท่าพระ
หลักฐาน 3.3.4 มาตรการการใช้หมึกพิมพ์ อุปกรณ์เครื่องเขียน
3.3.5 ร้อยละของการดำเนินตาม มาตรการประหยัดการใช้หมึกพิมพ์ อุปกรณ์เครื่องเขียน วัสดุ อุปกรณ์สำนักงาน (ประเมินจากพฤติกรรมของบุคลากรในพื้นที่)สำนักหอสมุดกลางกำหนด มาตรการการใช้กระดาษ /หมึกพิมพ์โดยมีประเด็นสำคัญดังนี้
1. ประชาสัมพันธ์ผ่านช่องทางต่าง ๆ ให้บุคลากรตระหนักถึงความสำคัญของการประหยัดกระดาษ
2. ใช้กระดาษเท่าที่จำเป็นเท่านั้น และใช้กระดาษทั้ง 2 หน้า
3. เมื่อต้องการพิมพ์เอกสาร ให้ตรวจสอบความถูกต้องก่อนสั่งพิมพ์เพื่อลดการสูญเสียกระดาษ
4. บำรุงรักษาเครื่องพิมพ์และเครื่องถ่ายเอกสารอย่างสม่ำเสมอ เพื่อลดการสูญเสียกระดาษ
5. ใช้ระบบ d-Saraban หรือสื่ออิเล็คทรอนิกสต่าง ๆ ในการสื่อสารภายในองค์กร
6. จัดทำสถิติการใช้กระดาษทุกเดือน

โดยหอสมุดวังท่าพระดำเนินการตามมารตรการครบทั้ง 6 ข้อ คิดเป็นร้อยละ 100

3.4 การประชุมและการจัดนิทรรศการ

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน
3.4.1 ร้อยละของการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ในการส่งข้อมูลเพื่อเตรียมการประชุม ได้แก่ QR code, Email, Social Network, Intranet เป็นต้น
3.4.2 การจัดการประชุมและนิทรรศการที่มีการใช้วัสดุที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ลดการใช้ทรัพยากรพลังงาน และลดของเสียที่เกิดขึ้น จะต้องดำเนินการดังนี้

(1) การจัดเตรียมขนาดห้องประชุมเหมาะสมกับจำนวนผู้เข้าประชุมหรือจัดนิทรรศการ

(2) ห้องประชุมหรือพื้นที่จัดนิทรรศการไม่มีการตกแต่งด้วยวัสดุที่ย่อยสลายยาก หรือวัสดุที่ใช้ครั้งเดียวแล้วทิ้ง

(3) การกำหนดแนวทางเลือกสถานที่ภายนอกสำนักงานที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

(4) การจัดเตรียมสื่อที่ใช้ในการประชุม โดยจะต้องลดการใช้กระดาษ หมึกพิมพ์

(5) การจัดเตรียมอาหาร และเครื่องดื่มเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
(1) การจัดเตรียมขนาดห้องประชุมเหมาะสมกับจำนวนผู้เข้าประชุมหรือจัดนิทรรศการ
หอสมุดวังท่าพระมีการกำหนดจำนวนที่นั่งให้เหมาะสมกับขนาดของห้องประชุมที่ให้บริการ โดยมีลายละเอียดดังนี้
-ห้องเรียนรู้กลุ่ม 1 กำหนดให้ใช้งานได้ไม่เกิน 8 คน
– ห้องเรียนรู้กลุ่ม 2 กำหนดให้ใช้งานได้ไม่เกิน 6 คน
– ห้องชมภาพยนตร์กำหนดให้ใช้งานได้ไม่เกิน 24 คน

(2) ห้องประชุมหรือพื้นที่จัดนิทรรศการไม่มีการตกแต่งด้วยวัสดุที่ย่อยสลายยาก หรือวัสดุที่ใช้ครั้งเดียวแล้วทิ้ง
ภายในห้องประชุมของหอสมุดวังท่าพระไม่มีการตกแต่งหรือประดับด้วยวัสดุที่ย่อยสลายยาก หรือวัสดุที่ใช้ได้เพียงครั้งเดียว

(3) การกำหนดแนวทางเลือกสถานที่ภายนอกสำนักงานที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
สำนักหอสมุดกลางฯ กำหนดแนวปฏิบัติเกี่ยวกับกรณีที่ต้องไปจัดประชุม/อบรม/สัมมนา/หรือกิจกิจกรรมสร้างสรรค์อื่น ๆ ภายนอกมหาวิทยาลัย โดยคำนึงถึงความเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม หลักฐาน SUTGO. 3.4.2 แนวปฏิบัติเกี่ยวกับกรณีที่ต้องไปจัดประชุมอบรมสัมมนา

(4) การจัดเตรียมสื่อที่ใช้ในการประชุม โดยจะต้องลดการใช้กระดาษ หมึกพิมพ์
หอสมุดวังท่าพระกำหนดให้จองห้องประชุมผ่านระบบออนไลน์ เพื่อลดการใช้กระดาษ และจัดเตรียมอุปกรณ์สำหรับการประชุมออนไลน์เพื่อลดการใช้กระดาษ เช่น TV, คอมพิวเตอร์, อุปกรณ์เชื่อมต่อต่าง ๆ


หลักฐาน GO3.4.2 การจัดการประชุมและนิทรรศการที่มีการใช้วัสดุที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม


หลักฐาน SUTGO. 3.4.2 แนวปฏิบัติเกี่ยวกับกรณีที่ต้องไปจัดประชุมอบรมสัมมนา

4.1 การจัดการของเสีย

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน
4.1.1 มีการดำเนินงานตามแนวทางการคัดแยก รวบรวม และกำจัดขยะอย่างเหมาะสม มีแนวทางการดำเนินงาน ดังนี้

(1) มีการคัดแยกขยะตามประเภทขยะที่เกิดขึ้นจากกิจกรรมภายในสำนักงาน และจัดวางถังขยะตามพื้นที่ทำงานต่าง ๆ อย่างเหมาะสมทุกจุดที่สุ่มตรวจสอบ

(2) มีการติดป้ายบ่งชี้ประเภทขยะอย่างถูกต้องและชัดเจนทุกถังที่สุ่มตรวจสอบ

(3) มีจุดพักขยะที่เหมาะสมตามหลักวิชาการ โดยจะต้องมีพื้นที่รองรับขยะแต่ละประเภทจากข้อ (1) อย่างเพียงพอ

(4) มีการทิ้งขยะถูกต้องทุกจุดที่สุ่มตรวจสอบ

(5) มีการส่งขยะให้ อปท. หรือผู้รับจ้างที่ได้รับอนุญาตตามกฎหมาย

(6) มีการติดตาม ตรวจสอบการกำจัดขยะของผู้รับจ้างให้มีการจัดการอย่างเหมาะสมตามหลักวิชาการ (กรณีส่งให้ อปท.ให้ถือว่ามีการจัดการอย่างเหมาะสม)

(7) ไม่มีการเผาขยะในบริเวณหรือพื้นที่ของสำนักงาน (ยกเว้นเตาเผาที่ได้รับการอนุญาตอย่างถูกต้อง)
(1) การคัดแยกขยะและจัดวางถังขยะตามอย่างเหมาะสม
หอสมุดวังท่าพระ มหาวิทยาลัยศิลปากร ดำเนินการจัดวางจุดทิ้งขยะทั้งภายในและภายนอกอาคารตามจุดต่าง ๆ รวมทั้งจัดทำป้ายประชาสัมพันธ์การแยกขยะเพื่อให้บุคลากรและผู้ใช้บริการห้องสมุดฯ เกิดองค์ความรู้และสามารถคัดแยกขยะได้อย่างถูกต้อง โดยมีการจัดวางถังขยะไว้ในจุดต่าง ๆ ของหอสมุดตามความเหมาะสม ดังต่อไปนี้
1.1 หอสมุดชั้นใต้ดิน ถังขยะทั่วไป และ ถังขยะรีไซเคิล
1.2 หอสมุดชั้น 1 ถังขยะทั่วไป และ ถังขยะรีไซเคิล
1.3 หอสมุดชั้น 3 ถังขยะทั่วไป และ ถังขยะรีไซเคิล
1.4 หอสมุดชั้น 4 ถังขยะทั่วไป ถังขยะรีไซเคิล ถังขยะย่อยสลายได้ และ ถังขยะอันตราย
1.4 ภายนอกอาคาร ด้านหน้าหอสมุด ถังขยะทั่วไป ถังขยะรีไซเคิล ถังขยะย่อยสลายได้ และ ถัง ขยะอันตราย
หมายเหตุ หอสมุดชั้นชั้นดิน ชั้น 1 และ ชั้น 3 เป็นส่วนพื้นที่ให้บริการที่ไม่อนุญาติให้นำอาหารเข้าในพื้นที่

(2) การติดป้ายบ่งชี้ประเภทขยะอย่างถูกต้องและชัดเจน
หอสมุดวังท่าพระ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์รณรงค์และให้ความรู้เพื่อบุคลากรได้มีส่วนร่วมในการคัดแยกขยะอย่างถูกวิธี รวมถึงการใช้ข้อมูลที่ถูกต้องและชัดเจน โดยติดตั้งในทุกจุดทิ้งขยะในความรับผิดชอบของหอสมุด

(3) จุดพักขยะที่เหมาะสม
หอสมุดฯ ดำเนินการคัดแยกขยะประเภทต่าง ๆ บรรจุในถุงดำที่ปิดมิดชิดป้องกันการรั่วไหล และนำไปพักรอส่งกำจัดที่ห้อง Garbage Room ห้องสำหรับพักขยะของมหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตวังท่าพระ เพื่อให้สำนักงานเขตพระนคร กรุงเทพมหานครดำเนินการต่อไป

(5) การส่งขยะให้ อปท. หรือผู้รับจ้างที่ได้รับอนุญาตตามกฎหมาย
ขยะภายในมหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตวังท่าพระ ถูกขนย้ายจากจุดพักเพื่อกำจัดอย่างถูกวิธีภายใต้การดำเนินงานของฝ่ายรักษาความสะอาดและสวนสาธารณะ สำนักงานเขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

(6) การติดตาม ตรวจสอบการกำจัดขยะ
คณะกรรมการสำนักงานสีเขียว หอสมุดวังท่าพระ มหาวิทยาลัยศิลปากร ดำเนินการติดตามและตรวจสอบการกำจัดขยะทั้ง 3 ประเภท คือ ขยะทั่วไป ขยะเปียก ขยะรีไซเคิล โดยมีรายละเอียดการกำจัดดังต่อไปนี้
1) ขยะทั่วไป และ ขยะเปียก หอสมุดฯ นำไปยังจุดพัก ห้อง Garbage Room จากนั้นฝ่ายรักษาความสะอาดและสวนสาธารณะ สำนักงานเขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ดำเนินการคัดแยกขยะและส่งไปยังศูนย์กำจัดมูลฝอยหนองแขม
(ข้อมูลจากการสัมภาษณ์ ฝ่ายรักษาความสะอาดและสวนสาธารณะ สำนักงานเขตพระนคร โทร 02-224-3157)
2) ขยะรีไซเคิล ได้แก่ขวดน้ำ กระดาษ คณะกรรมการสำนักงานสีเขียว หอสมุดวังท่าพระมหาวิทยาลัยศิลปากรได้เก็บรวบรวมไว้ ณ จุดพักและดำเนินการจำหน่ายไปยังกิจการรับซื้อของเก่า เช่น วงษ์พาณิชย์ เป็นต้น

(7) การเผาขยะในบริเวณหรือพื้นที่ของสำนักงาน
มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตวังท่าพระ ดำเนินการส่งกำจัดขยะทุกประเภทให้กับฝ่ายรักษาความสะอาดและสวนสาธารณะ สำนักงานเขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ซึ่งมีกระบวนการที่เหมาะสมและถูกต้องตามหลักวิชา จึงไม่มีการเผาขยะ ในบริเวณหรือพื้นที่ของหอสมุดวังท่าพระ
หลักฐาน GO4.1
4.1.2 การนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์ หรือนำกลับมาใช้ใหม่ ส่งผลให้ขยะที่จะส่งไปกำจัดมีปริมาณน้อยลง

(1) มีการนำขยะกลับมาใช้ใหม่

(2) มีการบันทึกข้อมูลปริมาณขยะแต่ละประเภทครบถ้วนทุกเดือน

(3) มีการวิเคราะห์ปริมาณขยะเทียบค่าเป้าหมายที่ได้กำหนดจากหมวด 1 ข้อ 1.1.5

(4) ปริมาณขยะที่ส่งกำจัดมีแนวโน้มลดลง
(1) มีการนำขยะกลับมาใช้ใหม่
หอสมุดวังท่าพระมีการนำขยะประเภทแก้วน้ำ ฝาขวดน้ำ มาใช้เป็นวัสดุสำหรับสร้างงานศิลปะ และอุปกรณ์อื่น ๆ ในกิจกรรมพี่ชวนกรีน

(2) มีการบันทึกข้อมูลปริมาณขยะแต่ละประเภทครบถ้วนทุกเดือน
หอสมุดวังท่าพระมีการชั่งน้ำหนักและบันทึกข้อมูลปริมาณขยะแยกตามประเภทเป็นประจำทุกเดือน ตั้งแต่เดือนมกราคม – ธันวาคม 2567

(3) มีการวิเคราะห์ปริมาณขยะเทียบค่าเป้าหมายที่ได้กำหนด
หอสมุดวังท่าพระมีการเปรียบเทียบปริมาณขยะเพื่อบรรลุเป้าหมายตามประกาศสำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร เรื่อง กำหนดเป้าหมายการจัดการพลังงานและการใช้ทรัพยากร ประจำปี พ.ศ.2567 สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร ซึ่งกำหนดให้ลดปริมาณของขยะลดลงจากค่าเฉลี่ย 6 เดือนแรก ปี พ.ศ.2567 ร้อยละ 5 [หลักฐาน GO.4.1.2 ประกาศค่าเป้าหมาย สำนักหอสมุดกลาง]

จากการวิเคราะห์เปรียบเทียบพบว่า ปริมาณขยะสะสมเพิ่มขึ้นจาก 6 เดือนแรก ปี พ.ศ. 2567 จำนวนร้อยละ 27.57%
จากการวิเคราะห์ปริมาณขยะที่นำมาใช้ใหม่พบว่า มีปริมาณร้อยละ 17.79 ของจำนวนขยะสะสมทั้งหมดในปี พ.ศ. 2567
หลักฐาน GO. 4.1.2

หลักฐาน GO. 4.1.2 (2)

หลักฐาน GO.4.1.2 (3)

4.2 การจัดการน้ำเสีย

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน
4.2.1 การจัดการน้ำเสียของสำนักงาน และคุณภาพน้ำทิ้งจะต้องอยู่ในมาตรฐานกฎหมายที่เกี่ยวข้อง โดยมีแนวทางดังนี้

(1) การกำหนดผู้รับผิดชอบดูแลการจัดการน้ำเสีย และจะต้องมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแล

(2) มีการบำบัดน้ำเสียอย่างเหมาะสม และมีประสิทธิภาพ เช่น มีตะแกรง ดักเศษอาหาร มีบ่อดักไขมัน หรือมีระบบบำบัดน้ำเสียเหมาะสมกับองค์ประกอบของน้ำเสีย

(3) มีการบำบัดน้ำเสียครบทุกจุดที่ปล่อยน้ำเสีย

(4) มีผลการตรวจสอบคุณภาพน้ำทิ้งที่อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานตามที่กฎหมายกำหนด
(1) การกำหนดผู้รับผิดชอบดูแลการจัดการน้ำเสีย และจะต้องมีความรู้ความเข้าใจในการดูแล
หอสมุดวังท่าพระดำเนินการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดูแลทำความสะอาดอุปกรณ์และจัดการน้ำเสียโดยยึดตามคำสั่งสำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร เลขที่ 0027/2567 เรื่องการแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียว สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร [หลักฐาน GO 4.2.1(1)]

(2) มีการบำบัดน้ำเสียอย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
หอสมุดวังท่าพระดำเนินการติดตั้งบ่อดักไขมันที่จุดปล่อยน้ำเสีย พร้อมกำหนดผู้รับผิดชอบในการดูแลทำความสะอาดอย่างสม่ำเสมอเพื่อให้บ่อดักไขมันสามารถบำบัดน้ำเสียได้อย่างมีประสิทธิภาพ

(3) มีการบำบัดน้ำเสียครบทุกจุดที่ปล่อยน้ำเสีย
จุดปล่อยน้ำเสียของอาคารหอสมุดวังท่าพระมีจำนวนทั้งหมด 1 แห่ง ภายในครัวของส่วนสำนักงานชั้น 4 ซึ่งได้ดำเนินการติดตั้งบ่อดักไขมันเพื่อบำบัดน้ำเสียจำนวน 1 เครื่องในจุดดังกล่าว

(4) มีผลการตรวจสอบคุณภาพน้ำทิ้งที่อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานตามที่กฎหมายกำหนด
ระบบบำบัดน้ำเสียของหอสมุดวังท่าพระ มหาวิทยาลัยศิลปากร อยู่ภายใต้การดูแลของหน่วยงาน กองกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากรซึ่งมีหน้าที่ในการดำเนินการตรวจวัดคุณภาพน้ำทิ้ง และให้ความอนุเคราะห์แจ้งผลการตรวจวัดมายังหอสมุดวังท่าพระ [หลักฐาน GO. 4.2.1 (4)]
หลักฐาน GO. 4.2.1

หลักฐาน GO. 4.2.1 (1)
4.2.2 การดูแลอุปกรณ์บำบัดน้ำเสีย โดยมีแนวทางดังนี้

(1) มีการดูแลระบบบำบัดน้ำเสีย หรือมีการตักและทำความสะอาดเศษอาหาร และไขมันออกจากตะแกรงดักขยะหรือบ่อดักไขมัน ตามความถี่ที่กำหนดอย่างเหมาะสมกับปริมาณและการปนเปื้อน

(2) มีการนำกากตะกอนจากระบบบำบัดน้ำเสียหรือเศษอาหาร น้ำมันและไขมันจากถัง/บ่อดักไขมันไปกำจัดอย่างถูกต้อง

(3) มีการตรวจสอบ ปรับปรุง ซ่อมแซมระบบบำบัดน้ำเสียให้สามารถใช้งาน และมีประสิทธิภาพอยู่เสมอ

(4) มีการตรวจสอบการรั่วไหลของน้ำเสียอย่างสม่ำเสมอเพื่อป้องกันการปนเปื้อนของน้ำเสียไปยังแหล่งอื่นๆ
(1) มีการดูแลระบบบำบัดน้ำเสีย
หอสมุดวังท่าพระ ดำเนินการตักไขมันและดำเนินการล้างบ่อดัก อาทิตย์ละครั้งเป็นประจำอย่างสม่ำเสมอ โดยมีกำหนดผู้รับผิดชอบในการดูแลทำความสะอาด

(2) มีการนำกากตะกอนจากระบบบำบัดน้ำเสียไปกำจัดอย่างถูกต้อง
ผู้รับผิดชอบดำเนินการตักไขมัน เศษอาหาร และกากตะกอนต่าง ๆ ในบ่อดักไขมันใส่ไปในถังขยะเปียกและส่งให้กรุงเทพมหานครดำเนินการกำจัด

(3) มีการตรวจสอบ ปรับปรุง ซ่อมแซมระบบบำบัดน้ำเสียให้สามารถใช้งาน และมีประสิทธิภาพอยู่เสมอ
(4) และ มีการตรวจสอบการรั่วไหลของน้ำเสียอย่างสม่ำเสมอเพื่อป้องกันการปนเปื้อนของน้ำเสียไปยังแหล่งอื่นๆ
ในการดำเนินการล้างทำความสะอาดบ่อดักไขมัน ผู้รับผิดชอบจะตรวจสอบสภาพบ่อดักไขมัน ท่อส่งน้ำ ตัวกรองเศษอาหาร และบันทึกลงในแบบฟอร์มเป็นประจำทุกสัปดาห์ ซึ่งในปี 2567 มีการดำเนินการทั้งหมด 18 ครั้ง จากการตรวจสอบไม่พบการชำรุดของบ่อดักไขมันและท่อน้ำ
หลักฐาน GO. 4.2.2

5.1 อากาศในสำนักงาน

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน
5.1.1 การควบคุมมลพิษทางอากาศในสำนักงาน

(1) มีแผนการดูแลบำรุงรักษา ได้แก่ เครื่องปรับอากาศ เครื่องถ่ายเอกสาร เครื่องพิมพ์เอกสาร (Printer) พรมปูพื้นห้อง (ขึ้นอยู่กับสำนักงาน)

(2) มีการกำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบตามแผนการดูแลบำรุงรักษา

(3) มีการปฏิบัติตามแผนที่กำหนดใน ข้อ 1

(4) มีการควบคุมมลพิษทางอากาศจากการปฏิบัติในข้อ 1

(5) การจัดวางเครื่องพิมพ์เอกสาร เครื่องถ่ายเอกสาร (Printer) ให้ห่างไกลผู้ปฏิบัติงาน

(6) การควบคุมควันไอเสียรถยนต์บริเวณสำนักงาน เช่น ติดป้ายดับเครื่องยนต์

(7) การป้องกันอันตรายจากการพ่นยากำจัดแมลง (ถ้ามี)

(8) มีการสื่อสารหรือแจ้งให้ทราบถึงการเกิดมลพิษทางอากาศจากกิจกรรม ต่าง ๆ เพื่อการเตรียมความพร้อม และระวังการได้รับอันตราย
ฝ่ายหอสมุดฯ ได้จัดทำแผนและกำหนดผู้รับผิดชอบในการดูแลรักษาเครื่องปรับอากาศ เครื่องพิมพ์เอกสาร (Printer) และพรมปูพื้น เพื่อการควบคุม ดูแลป้องกันมลพิษทางอากาศของสำนักงาน (5.1.1-1.1_SUT) โดยกำหนดหน้าที่ผู้รับผิดชอบในการดูแลรักษาความรับผิดชอบเครื่องปรับอากาศ เครื่องถ่ายเอกสาร พรมปูพื้น และผ้าม่าน (5.1.1-1.2_SUT) และได้ปฏิบัติงานตามแผน (5.1.1-1.3_SUT)

มีการควบคุมมลพิษทางอากาศจากการปฏิบัติในข้อ 1 โดยจัดทำประกาศมาตรควบคุมมลพิษทางอากาศในสำนักงาน (5.1.1-1.4_SUT) ให้หน.หอสมุดฯ รับทราบ+เสนอรอง.เต้ย ลงนาม

สำนักหอสมุดกลาง จัดวางตำแหน่งเครื่อง เครื่องปริ้นเตอร์ ให้มีระยะห่างจากผู้ปฏิบัติงาน (5.1.1-1.5_SUT) รูปเครื่องพิมพ์เอกสารจากมุมโต๊ะปฏิบัติงานเจ้าหน้าที่) นอกจากนั้นยังมีการควบคุมมลพิษทางอากาศบริเวณรอบฝ่ายหอสมุดวังท่าพระ โดยมีการติดตั้งป้ายด้านข้างฝ่ายหอสมุดฯ บริเวณด้านข้างตึกเพื่อป้องกันไอเสียจากรถยนต์ (5.1.1-1.6_SUT) ประสานงานกับหมวด 2

มีการป้องกันและกำจัดแมลงที่จะสร้างมลพิษ อากาศภายในสำนักงาน (5.1.1-1.7_SUT) อีกทั้งยังมีการส่งเสริมให้บุคลากรตระหนักและทราบถึงปัญหามลพิษทางอากาศที่อาจเกิดจากกิจกรรมต่างๆ เพื่อเตรียมความพร้อมป้องกันและระวังอันตรายที่อาจเกิดขึ้น (5.1.1-1.8_SUT) หมวด 2 รณรงค์?
5.1.1-1.1_SUT

5.1.1-2.1_SUT

5.1.1-4.1_SUT

5.1.1-5.1_SUT


5.1.2 มีการรณรงค์ไม่สูบบุหรี่หรือมี การกำหนดพื้นที่สูบบุหรี่ที่เหมาะสม และปฏิบัติตามที่กำหนด

(1) มีการรณรงค์การไม่สูบบุหรี่

(2) มีการติดสัญลักษณ์เขตปลอดบุหรี่

(3) มีการติดสัญลักษณ์เขตสูบบุหรี่

(4) เขตสูบบุหรี่จะต้องไม่อยู่ในบริเวณที่ก่อให้เกิดความเดือดร้อนรำคาญแก่ ประชาชนที่อยู่บริเวณข้างเคียง ไม่อยู่ในบริเวณทางเข้า – ออกของ สถานที่ที่ให้มีการคุ้มครองสุขภาพของผู้ไม่สูบบุหรี่ และไม่อยู่ในบริเวณที่เปิดเผยอันเป็นที่เห็นได้ชัดแก่ผู้มาใช้สถานที่นั้น

(5) ไม่พบการสูบบุหรี่หรือก้นบุหรี่นอกเขตสูบบุหรี่
ฝ่ายหอสมุดฯ มีการรณรงค์ไม่สูบบุหรี่ทั้งภายในและภายนอกอาคาร (5.1.2-1.1_SUT) และมีการติดตั้งป้ายห้ามสูบบุหรี่หรือสัญลักษณ์เขตปลอดบุหรี่ ทั้งภายในและภายนอกจำนวน X จุด (5.1.2-2.1_SUT) ดังนี้
1. ห้องน้ำชาย ห้องน้ำหญิงภายในอาคาร
2. บริเวณ…
3. บริเวณ…
4. บริเวณ…
5.1.2-3.1_SUT

5.1.2-4.1_SUT

5.1.2-5.1_SUT

5.1.3 การจัดการมลพิษทางอากาศ จากการก่อสร้าง ปรับปรุง อาคารหรือ อื่น ๆ ในสำนักงานที่ส่งผลต่อพนักงาน

(1) กำหนดมาตรการรองรับเพื่อจัดการมลพิษทางอากาศจากการก่อสร้าง ปรับปรุงอาคาร

(2) ปฏิบัติตามมาตรการที่ได้กำหนดใน ข้อ (1)

แนวทางการกำหนดมาตรการมีดังนี้

– มีพื้นที่ทำงานสำรองให้กับพนักงาน

– มีที่กั้นเพื่อป้องกันมลพิษทางอากาศที่จะส่งผลกระทบกับพนักงานหรือผู้ที่เกี่ยวข้อง

– มีการสื่อสารหรือติดป้ายแจ้งเตือน เพื่อการเตรียมความพร้อมและระวังการได้รับอันตราย
ฝ่ายหอสมุดฯ มีการจัดการมลพิษทางอากาศจากการก่อสร้าง ปรับปรุง อาคารหรืออื่นๆ ในสำนักงานที่ส่งผลต่อพนักงาน โดยจัดทำมาตรการควบคุมการปฏิบัติงานของผู้รับจ้าง ผู้รับเหมา ด้านสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัยด้านมลพิษทางอากาศ ฝุ่นละออง เสียง และสุขภาพ ลงวันที่ ว ด ป หน้า x (5.1.3-1.1_SUT) ซึ่งในปี พ.ศ. 2567 ฝ่ายหอสมุดฯ ไม่มีการก่อสร้างปรับปรุงอาคาร หรืออื่น ๆ ในสำนักงานที่ส่งผลกระทบต่อพนักงาน…5.1.3-1.1_SUT

5.1.3-2.1_SUT

5.2 แสงในสำนักงาน

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน
5.2.1 มีการตรวจวัดความเข้มของแสงสว่าง (โดยอุปกรณ์การตรวจวัด ความเข้มของแสงสว่างที่ได้มาตรฐาน) และดำเนินการแก้ไขตามที่มาตรฐานกำหนด

(1) มีการตรวจวัดความเข้มของแสงสว่างประจำปี พร้อมแสดงหลักฐานผลการตรวจวัดความเข้มของแสงสว่าง เฉพาะจุดทำงานแลพื้นที่ทำงาน

(2) เครื่องวัดความเข้มของแสงสว่าง จะต้องมีมาตรฐานและได้รับการสอบเทียบ (แสดงหลักฐานใบรับรอง)

(3) ผลการตรวจวัดจะต้องเป็นไปตามมาตรฐานกฎหมายกำหนด

(4) ผู้ที่ตรวจวัดความเข้มของแสงสว่างจะต้องเป็นไปตามที่กฎหมายกำหนด
ฝ่ายหอสมุดฯ ได้ตรวจวัดแสงสว่างภายในอาคาร
โดยขอความร่วมมือภาควิชาวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในการมาตรวจวัดแสงสว่างภายในอาคารหอสมุด เมื่อวันที่ 18-19 พฤศจิกายน 2567

(1) มีการตรวจวัดความเข้มแสง และมีรายงานผลการตรวจวัดแสงฯ ของอาคารหอสมุด (ตามเอกสารแนบท้าย) พร้อมแสดงหลักฐานผลการตรวจวัดแสงเฉพาะจุดทำงานและพื้นที่บริการ (5.2.1-1.1_SUT)

(2) เครื่องวัดความเข้มแสง มีมาตรฐานและได้รับการสอบเทียบ และมีหลักฐานแสดงหลักฐานใบรับรองในเอกสารรายงานผลการตรวจวัดแสงฯ ของอาคาร (5.2.1-2.1_SUT)

(3) ผลการตรวจวัดไม่เป็นไปตามมาตรฐานกฎหมายกำหนด
แต่ได้มีการจัดทำใบขอให้แก้ไขและป้องกันสิ่งที่ไม่เป็นไปตามข้อกำหนด เพื่อเสนอต่อผู้บริหารสำนักหอสมุดกลางเพื่อให้พิจารณาแก้ไขปรับปรุงแล้ว (5.2.1-3.1_SUT)

(4) ผู้ที่ตรวจวัดความเข้มแสงมีคุณสมบัติในการเป็นผู้ตรวจสอบ และเป็นไปตามที่กฎหมายกำหนด (5.2.1-4.1_SUT)

(เป็นอาจารย์สังกัดภาควิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

ดังหลักฐานแสดงในเอกสารรายงานผลการตรวจวัดแสงฯ
ของอาคารหอสมุด)
5.2.1-3.2_SUT

5.2.1-4.1_SUT

5.3 เสียง

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน
5.3.1 การควบคุมมลพิษทางเสียงภายในอาคารสำนักงาน

(1) กำหนดมาตรการรองรับเพื่อจัดการ เสียงดังที่มาจากภายในสำนักงาน

(2) ปฏิบัติตามมาตรการที่ได้กำหนดใน ข้อ (1) ถ้าพบว่ามีเสียงดังที่มาจากภายในสำนักงาน
เนื่องจากมหาวิทยาลัยเป็นสถานศึกษาจึงยังไม่พบกิจกรรมภายในมหาวิทยาลัยที่ก่อให้เกิดเสียงดังที่เกินกำหนด
แต่ได้มีการจัดทำประกาศ เรื่อง มาตรการควบคุมมลพิษทางอากาศและเสียง เพื่อควบคุมเสียงดังทั้งภายในและภายนอกสำนักงาน ที่อาจเกิดจากการใช้สถานที่ หรือการจัดกิจกรรมใด ๆ เพื่อให้มีแนวปฏิบัติที่ชัดเจน อย่างเคร่งครัด (5.3.1-1.1_SUT)
5.3.1-1.1_SUT

5.3.1-1.4_SUT

5.3.1-1.5_SUT

5.3.1-1.6_SUT

5.3.1-1.7_SUT

5.3.1-2.1_SUT
5.3.2 การจัดการเสียงดังจากการ ก่อสร้าง ปรับปรุงอาคารหรืออื่น ๆ ในสำนักงานที่ส่งผลต่อพนักงาน

(1) กำหนดมาตรการรองรับเพื่อจัดการเสียงดังที่เกิดจากการก่อสร้าง ปรับปรุงอาคาร

(2) ปฏิบัติตามมาตรการที่ได้กำหนดใน ข้อ (1) แนวทางการกำหนดมาตรการมีดังนี้

– มีพื้นที่ทำงานสำรองให้กับพนักงาน

– มีการสื่อสารหรือติดป้ายแจ้งเตือน เพื่อการเตรียมความพร้อมและระวังการได้รับอันตราย
เนื่องจากมหาวิทยาลัยเป็นสถานศึกษาจึงยังไม่พบกิจกรรมภายในมหาวิทยาลัยที่ก่อให้เกิดเสียงดังที่เกินกำหนด
แต่ได้มีการจัดทำประกาศ เรื่อง มาตรการควบคุมมลพิษทางอากาศและเสียง เพื่อควบคุมเสียงดังทั้งภายในและภายนอกสำนักงาน ที่อาจเกิดจากการใช้สถานที่ หรือการจัดกิจกรรมใด ๆ เพื่อให้มีแนวปฏิบัติที่ชัดเจน อย่างเคร่งครัด (5.3.2-1.1_SUT)
5.3.2-1.1_SUT

5.3.2-2.1_SUT

5.4 ความน่าอยู่

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน
5.4.1 มีการวางแผนจัดการความน่า อยู่ของสำนักงานโดยจะต้องดำเนินการ ดังนี้

(1) จัดทำแผนผังของสำนักงานทั้งในตัวอาคารและนอกอาคาร โดยจะต้องกำหนดพื้นที่ใช้งานอย่างชัดเจน เช่น พื้น่พักผ่อนหย่อนใจ พื้นที่สีเขียว พื้นที่ส่วนรวม และพื้นที่ทำงาน เป็น ต้น สามารถสื่อสารด้วยป้ายหรือ อื่นๆ ที่เหมาะสมเพื่อบ่งชี้

(2) มีการกำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบอย่างเหมาะสมทั้งพื้นที่เฉพาะและพื้นที่ทั่วไป ทั้งในอาคารและนอกอาคาร

(3) มีการกำหนดเวลาในการดูแลรักษา ความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อย ทั้งพื้นที่เฉพาะและพื้นที่ทั่วไป ทั้งในอาคารและนอกอาคาร

(4) การกำหนดแผนงานการเพิ่มพื้นที่สีเขียว และคงรักษาไว้ของสำนักงาน รวมไปถึงมีการปฏิบัติจริงตามแผนงาน
ฝ่ายหอสมุดฯ (5.4.1-1.1_SUT) มีการวางแผนจัดการความน่าอยู่ของสำนักงาน โดยมีการจัดทำแผนผังของสำนักงานทั้งในตัวอาคารและนอกอาคารโดยกำหนดพื้นที่ใช้งานอย่างชัดเจน เช่น พื้นที่พักผ่อนหย่อนใจ พื้นที่สีเขียว พื้นที่ส่วนรวม พื้นที่ทำงาน และพื้นที่บริการ มีการจัดทำป้าย มีการกำหนดความรับผิดชอบ อย่างเหมาะสมทั้งพื้นที่เฉพาะ และพื้นที่ทั่วไปทั้งในอาคารและนอกอาคาร มีการกำหนดเวลาในการดูแลรักษา ความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อย ทั้งพื้นที่เฉพาะและพื้นที่ทั่วไป ทั้งในอาคารและนอกอาคาร มีการกำหนดแผนงานการเพิ่มพื้นที่สีเขียว และคงรักษาไว้ของสำนักงาน รวมถึงมีการปฏิบัติงานจริง5.4.1-1.1_SUT

5.4.1-2.1_SUT

5.4.1-2.2_SUT

5.4.1-3.1_SUT

5.4.1-4.1_SUT
5.4.2 ร้อยละการใช้สอยพื้นที่เป็นไป ตามวัตถุประสงค์ที่สำนักงานกำหนด ฝ่ายหอสมุดฯ มีการใช้สอยและพื้นที่ต่าง ๆ ตามวัตถุประสงค์ที่สำนักงานกำหนดร้อยละ 100 (5.4.2-1.1_SUT)5.4.2-1.1_SUT

5.4.3 ร้อยละการดูแลบำรุงรักษา พื้นที่ต่าง ๆ เช่น พื้นที่สีเขียว พื้นที่ พักผ่อนหย่อนใจ พื้นที่ส่วนกลาง และพื้นที่ทำงาน เป็นต้น
ฝ่ายหอสมุดฯ มีการกำหนดแผนการดูแล บำรุงรักษาพื้นที่ต่าง ๆ ภายในหน่วยงานให้กับบุคลากร ร้อยละ 100 โดยกำหนดให้บุคลากรประจำชั้นในพื้นที่ และแม่บ้านเป็นผู้รับผิดชอบดูแลตามแผนการดูแลพื้นที่สำนักงาน การดูแลบำรุงรักษาพื้นที่ต่าง ๆ เช่น พื้นที่สีเขียว พื้นที่พักผ่อนหย่อนใจ พื้นที่ส่วนกลาง และพื้นที่ทำงาน ตามมาตรการเพิ่มพื้นที่สีเขียว (5.4.3-1.1_SUT)5.4.3-1.1_SUT
5.4.4 มีการควบคุมสัตว์พาหะนำโรค และดำเนินการได้ตามที่กำหนด

(1) มีการกำหนดแนวทางการป้องกันสัตว์พาหะนำโรคในสำนักงานอย่างเหมาะสม ได้แก่ นกพิราบ หนู แมลงสาบ และอื่นๆ

(2) มีการกำหนดความถี่ในการตรวจสอบร่องรอยสัตว์พาหะนำโรค อย่างน้อยที่สุดเดือนละ 1 ครั้ง

(3) มีการตรวจสอบร่องรอยตามความถี่ที่ได้กำหนด (เฉพาะตอนกลางวัน)

(4) มีแนวทางที่เหมาะสมกับการจัดการเมื่อพบร่องรอยสัตว์พาหะนำโรค

(5) ไม่พบร่องรอยหรือสัตว์พาหะนำโรคในระหว่างการตรวจประเมิน
ฝ่ายหอสมุดฯ มีการกำหนดแนวทางในการป้องกันและกำจัดสัตว์พาหะนำโรค โดยกำหนดเป็นแผนควบคุมสัตว์พาหะนำโรค ประจำปี พ.ศ 2567 (5.4.4-1.1_SUT) ซึ่งมอบหมายผู้รับผิดชอบในการป้องกันและกำจัด ตามแผน (5.4.2-2.1_SUT) พร้อมทั้งจัดทำแบบฟอร์มตรวจสอบร่องรอยของสัตว์พาหะนำโรคทุกเดือน (5.4.2-3.1_SUT)

ซึ่งจากการตรวจสอบพบว่า สัตว์พาหะนำโรคส่วนใหญ่
ที่พบเจอเป็นนกพิราบ หนู แมลงวัน ดังนั้นทางฝ่ายหอสมุดฯ ได้มีแนวทางที่เหมาะสมกับการจัดการเมื่อพบร่องรอยสัตว์พาหะนำโรค ดังนี้

1. ปลวก เรียกบริษัทกำจัดโดยใช้น้ำยาที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

2. หนู กำจัดหนูโดยใช้กับดัก และนำไปปล่อยกับคืนสู่ธรรมชาติ

3. นก ทำความสะอาดมูลนกโดยการกวาด/ใช้น้ำฉีด (5.4.2-4.1_SUT)
5.4.4-1.1_SUT

5.4.4-2.1_SUT

5.4.4-3.1_SUT

5.4.4-4.1_SUT

5.4.4-5.1_SUT

5.5 การเตรียมพร้อมต่อสภาวะฉุกเฉิน

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน
5.5.1 การอบรมฝึกซ้อมดับเพลิงและอพยพหนีไฟตามแผนที่กำหนด

(1) มีการกำหนดแผนการฝึกอบรมและ อพยพหนีไฟ

(2) จำนวนคนเข้าอบรมฝึกซ้อมดับเพลิง ขั้นต้นจะต้องไม่ต่ำกว่าร้อยละ 40 ของพนักงานแต่ละแผนกหรือส่วนงาน

(3) พนักงานทุกคนจะต้องเข้าฝึกซ้อม อพยพหนีไฟ อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง (พิจารณาพนักงานหรือผูปฏิบัติงาน ทุกคนที่อยู่ประจำพื้นที่สำนักงานที่มี การฝึกซ้อมเท่านั้น) (4) มีการอบรมดับเพลิงขั้นต้นตามแผนที่กำหนด พร้อมแสดงหลักฐาน เช่น ใบรับรองการอบรม ภาพถ่าย เป็นต้น

(5) มีการฝึกซ้อมอพยพตามแผนที่กำหนด พร้อมแสดงหลักฐาน เช่น ใบรับรอง ภาพถ่าย เป็นต้น

(6) มีการกำหนดจุดรวมพลที่สามารถรองรับได้ พร้อมมีป้ายแสดงอย่าง ชัดเจน

(7) มีการกำหนดเส้นทางหนีไฟ ธงนำ ทางหนีไฟ ไปยังจุดรวมพล พร้อมสื่อสารในพื้นที่ปฏิบัติงาน

(8) มีการกำหนดทางออกฉุกเฉิน ทางหนีไฟ พร้อมมีป้ายแสดงอย่าง ชัดเจน
ฝ่ายหอสมุดฯ มีการจัดทำแผนฝึกอบรมประจำปี 2567 เพื่อเตรียมความพร้อมสำหรับระงับเหตุฉุกเฉินต่าง ๆ ที่อาจจะเกิดขึ้น เพื่อเตรียมพร้อมต่อสภาวะฉุกเฉิน เมื่อวันที่วันที่ 5 พฤษภาคม 2567.(5.5.1-1.1_SUT) 5.5.1-6.1_SUT

5.5.1-7.1_SUT
5.5.2 มีแผนฉุกเฉินที่เป็นปัจจุบันและเหมาะสม และร้อยละของพนักงานที่เข้าใจแผนฉุกเฉิน (สุ่มสอบถามอย่างน้อย 4 คน)ฝ่ายหอสมุดฯ ได้จัดทำแผนระงับเหตุฉุกเฉินเพื่อป้องกันและเตรียมพร้อมต่อการเกิดเหตุฉุกเฉินต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้น (5.5.2-1.1_SUT)5.5.2-1.1_SUT
5.5.3 ความเพียงพอและการพร้อมใช้งานของอุปกรณ์ระบบดับเพลิงและป้องกันอัคคีภัย และระบบสัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้ และร้อยละของพนักงาน ทราบวิธีการใช้และตรวจสอบอุปกรณ์ ดังกล่าว (สุ่มสอบถามอย่างน้อย 4 คน)

(1) มีการติดตั้งและเตรียมอุปกรณ์ดับเพลิง

– ถังดับเพลิงมีเพียงพอต่อการใช้งาน (กำหนดระยะห่าง อย่างน้อย 20 เมตร/ถัง ตามกฎหมาย ติดตั้งสูงจากพื้นไม่เกิน 150 เซนติเมตรนับ จากคันบีบ และถ้าเป็นวางกับพื้น จะต้องมีฐานรองรับ) พร้อมกับติด ป้ายแสดง

– ติดตั้งระบบเครื่องสูบน้ำดับเพลิง (ถ้ามี)

– สายฉีดน้ำดับเพลิงและตู้เก็บสาย ฉีด (Hose and Hose Station) (ถ้ามี)

(2) ติดตั้งระบบสัญญาณแจ้งเตือนและต้องพร้อมใช้งาน

– สัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้ (พื้นที่มากกว่า 300 ตารางเมตรหรืออาคารสูงเกิน 2 ชั้นขึ้นไป)

– ติดตั้งตัวดักจับควัน (smoke detector) หรือตัวตรวจจับความร้อน (heat detector)

(3) มีการตรวจสอบข้อ (1) – (2) และ หากพบว่าชำรุดจะต้องดำเนินการ แจ้งซ่อมและแก้ไข

(4) พนักงานจะต้องเข้าใจถึงวิธีการใช้ และตรวจสอบอุปกรณ์ดับเพลิงและ สัญญาณแจ้งเตือน อย่างน้อยร้อยละ 75 จากที่สุ่มสอบถาม

(5) ไม่มีสิ่งกีดขวางอุปกรณ์ดับเพลิง และสัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้
ฝ่ายหอสมุดฯ ติดตั้งอุปกรณ์สำหรับป้องกันเหตุฉุกเฉินด้านอัคคีภัย ได้แก่

1. ถังดับเพลิงชนิดผงเคมีแห้ง ติดตั้งภายในอาคาร จำนวน x ถัง (5.5.3-1.1_SUT)

2. ระบบสัญญาณแจ้งเตือน

2.1 สัญญาณแจ้งเหตุฉุกเฉินจำนวน 1 ระบบ (5.5.3-2.1_SUT)

2.2 เครื่องตรวจจับควันจำนวน 1 ระบบ (5.5.3-2.2_SUT)

3. โดยอุปกรณ์ต่าง ๆ ได้มีการตรวจเช็คเพื่อเตรียมความพร้อมใช้ ทุก 2 เดือน ลงในแบบฟอร์มบันทึกการตรวจอุปกรณ์ด้านอัคคีภัย (5.5.3-3.1_SUT) โดยมอบหมายให้นาย มีหน้าที่รับผิดชอบตรวจสอบอุปกรณ์

4. บุคลากรของฝ่ายหอสมุดฯ ผ่านการอบรมดับเพลิงเบื้องต้น รวมถึงสามารถใช้อุปกรณ์ป้องกันการเกิดอัคคีภัยได้ (5.5.3-4.1_SUT)

5. มีการตรวจเช็คสิ่งกีดขวางการเข้าถึงอุปกรณ์ป้องกันอัคคีภัย ตามแบบฟอร์มการตรวจอุปกรณ์ป้องกันอัคคีภัย (5.5.3-5.1_SUT)
5.5.3-1.1_SUT

5.5.3-2.1_SUT

5.5.3-3.1_SUT

5.5.3-4.1_SUT

5.5.3-5.1_SUT

6.1 การจัดซื้อสินค้า

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน
6.1.1 การจัดซื้อสินค้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

(1) กำหนดผู้รับผิดชอบ และมีความเข้าใจ

(2) ค้นหารายการสินค้าที่เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม และสามารถระบุแหล่งข้อมูลสืบค้นได้

(3) จัดทำบัญชีรายชื่อสินค้าที่เป็นมิตร กับสิ่งแวดล้อมที่สอดคล้องกับสินค้า ที่ใช้จริงในสำนักงาน โดยจะต้องระบุรายการสินค้า ยี่ห้อ ฉลากสิ่งแวดล้อม วันหมดอายุการรับรอง ของสินค้านั้น หากเป็นฉลาก สิ่งแวดล้อมของต่างประเทศจะต้อง อ้างอิงหน่วยงาน/ประเทศที่ให้การ รับรองนั้น ๆ ด้วย

(4) แจ้งไปยังผู้ขายเพื่อขอความร่วมมือในการสั่งซื้อสินค้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม กรณีที่ไม่มีร้านค้าที่จำหน่ายสินค้าทีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
สำนักหอสมุดกลางฯ มีการแต่งตั้งคณะกรรมการตามเกณฑ์หมวดที่ 6 การจัดซื้อและจัดจ้าง โดยเป็นผู้ที่มีความรู้ ความสามารถในการปฏิบัติงานด้านการจัดซื้อและการจัดจ้าง ตามคำสั่งสำนักหอสมุกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร ที่ 0027/2567 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียว สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร สั่ง ณ วันที่ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2567 (GO-6.1.1-1 หน้า 13)

นอกจากนี้สำนักหอสมุดกลางฯ ได้จัดทำประกาศสำนักหอสมุดกลางฯ เรื่อง นโยบายการพัฒนาสำนักหอสมุดกลางสู่ห้องสมุดสีเขียว (SU Green Library) ณ วันที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2566 (GO-6.1.1-2) และประกาศมาตรการประหยัดพลังงานและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ณ วันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2566 (GO-6.1.1-3)

สำนักหอสมุดกลางฯ ได้ดำเนินการรวบรวมแหล่งข้อมูลที่สืบค้น เพื่อเป็นแนวทางในการจัดซื้อสินค้าที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ตามแบบรายการสินค้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและแหล่งสืบค้นได้ (GO-6.1.1-4) ได้ดำเนินการจัดซื้อสินค้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมได้จริง จำนวน 11 รายการ แบบบัญชีรายชื่อสินค้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมที่สอดคล้องกับสินค้าที่ใช้จริงในสำนักงาน (GO-6.1.1-5) ทั้งนี้ได้ทำหนังสือเพื่อขอความร่วมมือผู้ขายในการจัดหาสินค้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ไปถึงร้านค้า จำนวน 5 แห่ง (GO-6.1.1-6)
GO-6.1.1-1 คำสั่งคณะกรรมการห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียว

GO-6.1.1-2 ประกาศ นโยบายการพัฒนาสำนักหอสมุดกลางฯ

GO-6.1.1-3 ประกาศ มาตรการประหยัดพลังงานฯ

GO-6.1.1-4 แบบรายการสินค้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมฯ

GO-6.1.1-5 แบบบัญชีรายชื่อสินค้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมที่ใช้ในสำนักงาน

GO-6.1.1-6 หนังสือขอความอนุเคราะห์ร้านค้า จำนวน 5 ร้าน
6.1.2 ร้อยละของการจัดซื้อสินค้าประเภทวัสดุอุปกรณ์ในสำนักงานที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม การดำเนินงานในปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 ได้รวบรวมข้อมูลการจัดซื้อตั้งแต่ มกราคม – ธันวาคม 2567 หอสมุดท่าพระ มีสินค้าทั้งหมด 37 ชิ้น มีรายการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมรวมทั้งหมด 13 ชิ้น คิดเป็นร้อยละ 83.82 GO-6.1.2-2GO-6.1.2-1 ร้อยละของสินค้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

GO-6.1.2-2 แบบรายงานผลการจัดซื้อสินค้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมฯ

6.1.3 ร้อยละของปริมาณและประเภท ของวัสดุอุปกรณ์ในสำนักงานที่เป็นมิตร กับสิ่งแวดล้อม
มีการคำนวณร้อยละของปริมาณสินค้าที่ได้ดำเนินการจัดซื้อมาใช้จริงในสำนักงาน เช่น สินค้าที่ได้รับตะกร้าสีเขียว สินค้าที่ประหยัดพลังงาน Energy stay และสินค้าที่นำกลับมาใช้ใหม่ มีมูลค่าในการจัดซื้อทั้งหมด 340,189.46 บาท มีสินค้าที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม 271,631.26 บาท คิดเป็นร้อยละ 79.85 (GO-6.1.3-2)GO-6.1.3-1 ร้อยละของปริมาณและประเภทของวัสดุอุปกรณ์สำนักงานที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

GO-6.1.3-2 แบบรายงานผลการจัดซื้อสินค้าฯ

6.2 การจัดจ้าง

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน
6.2.1 ร้อยละของการจัดจ้าง หน่วยงานหรือบุคคลที่มีการดำเนินงาน ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

(1) มีหลักฐานการพิจารณาถึงมาตรฐานด้านสิ่งแวดล้อมของหน่วยงานที่ได้การรับรองโดยจะต้องแสดงหลักฐาน การรับรองดังกล่าว

(2) หากหน่วยงานไม่มีมาตรฐานด้านสิ่งแวดล้อมรับรอง ทางสำนักงานจะต้องทำการประเมินด้านสิ่งแวดล้อมของหน่วยงานเบื้องต้น

(3) มีการจัดทำสัญญาหรือข้อตกลงด้าน สิ่งแวดล้อมเมื่อเข้ามาปฏิบัติงานใน สำนักงาน

(4) หน่วยงานหรือบุคคลที่ได้รับคัดเลือก จะต้องได้รับการอบรมหรือสื่อสารเกี่ยวกับสำนักงานสีเขียว และ แนวทางการจัดการสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมของตนเอง

(5) หน่วยงานหรือบุคคลเหล่านั้นสามารถอธิบายแนวทางในการจัดการสิ่งแวดล้อม ที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมของตนเองได้
มีการดำเนินจัดจ้างงานให้คำนึกถึงสิ่งแวดล้อม (GO-6.2.1-1) ในกรณีที่จัดจ้างไม่มีมาตราฐานด้านสิ่งแวดล้อมรับรอง ได้ดำเนินการทำแบบใบอนุญาตปฏิบัติงานและข้อตกลงด้านสิ่งแวดล้อม ในการเข้าปฏิบัติงาน (GO-6.2.1-2) พร้อมทั้งต้องประเมินประสิทธิภาพของผู้รับจ้าง/ผู้รับเหมาก่อสร้าง (GO-6.2.1-3) และมีการร่างขอบเขตการจ้างหรือข้อตกลง ด้านสิ่งแวดล้อมกับผู้รับจ้าง (GO-6.2.1-4) พร้อมทั้งแนบใบรับรองการใช้วัสดุในงานจ้างที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (GO-6.2.1-5)GO-6.2.1-1 ใบรับรองการฝึกอบรมใช้สารเคมีที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

GO-6.2.1-2 แบบใบอนุญาตปฏิบัติงานและข้อตกลงด้านสิ่งแวดล้อม

GO-6.2.1-3 แบบประเมินประสิทธิภาพของผู้รับจ้าง

GO-6.2.1-4 ขอบเขตงานจ้างหรือข้อตกลงด้านสิ่งแวดล้อมกับผู้รับจ้าง

GO-6.2.1-5 ใบรับรองการใช้วัสดุในงานจ้างที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
6.2.2 ร้อยละของการตรวจสอบด้าน การดูแลสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ปฏิบัติงาน ของหน่วยงานหรือบุคคลที่เข้ามา ดำเนินการ เช่น ผู้รับจ้าง ผู้รับจ้างช่วง แม่บ้าน รปภ. พนักงานส่งเอกสาร เป็นต้น ดำเนินการประเมินประสิทธิภาพของผู้รับจ้างที่เข้ามาดำเนินการภายในสำนักงาน เพื่อตรวจสอบด้านการดูแลสิ่งแวดล้อม การป้องกันมลพิษ การใช้วัสดุที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ความร่วมมือของผู้รับจ้างในการคำนึงถึงสิ่งแวดล้อมทั้งการขนย้ายขยะจากการประเมินผ่านเกณฑ์ 70% (GO-6.2.1-1) GO-6.2.1-1 แบบประเมินประสิทธิภาพของผู้รับจ้าง
6.2.3 ร้อยละของการเลือกใช้บริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (นอกสำนักงาน) ได้แก่ โรงแรม สถานที่จัดงาน หรืออื่น ๆ ที่ได้มีการขึ้นทะเบียนการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม มีการจัดประชุม/สัมมนา นอกสถานที่ 1 ครั้ง ซึ่งทำแบบคัดเลือกสถานที่ใช้บริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (นอกสำนักงาน) เพื่อประเมินสถานที่ใช้บริการมีความเหมาะสมและคำนึงถึงความเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (GO-6.2.3-1) และเมื่อมีการจัดสัมมนา/ประชุมต่างๆ สามารถสืบค้นสถานที่พักจากแหล่งสืบค้นโรงแรมที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (6.2.3-2)สำนักหอสมุดกลางมีแนวปฏิบัติในการไปจัดประชุมนอกสถานที่ (GO-6.2.3-3) แนวปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้ห้องประชุมของสำนักฯ เพื่อขอความร่วมมือให้ใช้วัสดุที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม คำนึงถึงการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและพลังงาน ลดการก่อให้เกิดมลพิษ (GO-6.2.3-4)GO-6.2.3-1 แบบคัดเลือกสถานที่ใช้บริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม นอกสำนักงาน

GO-6.2.3-2 แหล่งสืบค้นโรงแรมที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

GO-6.2.3-3 แนวปฏิบัติเกี่ยวกับกรณีที่ต้องไปจัดประชุมอบรมสัมมนาหรือกิจกรรม

GO-6.2.3-4 แนวปฏิบัติเกี่ยวกับการประชุมและการจัดนิทรรศการเพื่อสร้างจิตสำนึกฯ

GO-6.2.3-5 มาตรการควบคุมการปฏิบัติงานของผู้รับจ้าง ผู้รับเหมา ด้านสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัยของสำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร

Edit Template
1.1 การกำหนดนโยบายสิ่งแวดล้อม

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน
1.1.1 มีบริบทองค์กรและขอบเขตของการจัดการสิ่งแวดล้อมในสำนักงาน

(1) มีการกำหนดขอบเขตพื้นที่ของสำนักงาน
(2) มีการกำหนดขอบเขตกิจกรรมของสำนักงาน
สำนักหอสมุดกลางมีการกำหนดขอบเขตพื้นที่อย่างชัดเจน ทั้งพื้นที่ใช้งานรอบอาคารห้องสมุดและพื้นที่ภายในอาคาร สำนักหอสมุดกลางได้ทำการกำหนดจัดทำขอบเขตกิจกรรมของห้องสมุด โดยเน้นประโยชน์แก่ผู้รับบริการเป็นหลัก ทั้งในแง่ของความสะดวก รวดเร็วในการให้บริการ สภาพแวดล้อมที่สะอาดปลอดภัย โดยยังคงประสิทธิภาพในการทำงานของเจ้าหน้าที่และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
1.1.2 นโยบายด้านสิ่งแวดล้อมที่สอดคล้องและครอบคลุมประเด็นตามเกณฑ์การประเมินสำนักงานสีเขียวโดยแสดงความมุ่งมั่นอย่างต่อเนื่อง ดังนี้

(1) การปรับปรุงระบบการจัดการ สิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่อง

(2) การควบคุม ป้องกัน ลดผลกระทบ ด้านการใช้ทรัพยากร พลังงาน และ มลพิษ/ของเสีย รวมไปถึงการจัดซื้อ จัดจ้าง และบริการที่เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม เพื่อนำไปสู่การลดการ ปล่อยก๊าซเรือนกระจก

(3) การปฏิบัติตามกฎหมายและเกณฑ์ การเป็นสำนักงานสีเขียวของกรม ส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม

(4) การสร้างความรู้และความตระหนัก ด้านสิ่งแวดล้อมกับผู้เกี่ยวข้อง
ผู้บริหารฯได้ประกาศนโยบายพัฒนาสำนักหอสมุดกลางสู่ห้องสมุดสีเขียว เมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม 2566 โดยมีรายละเอียดของนโยบายที่ครอบคลุมทั้งในด้านการประหยัดพลังงาน การส่งเสริมการเข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศที่เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม และการสร้างเครือข่ายความร่วมมือ โดยกำหนดให้บุคลากรในหน่วยงานทุกคนมีส่วนในการร่วมผลักดันนโยบายนี้GO-1.1.2-1 นโยบายพัฒนาสำนักหอสมุดกลางสู่ห้องสมุดสีเขียว
1.1.3 การกำหนดนโยบายสิ่งแวดล้อม จากผู้บริหารระดับสูง

(1) นโยบายสิ่งแวดล้อมจะต้องได้รับการอนุมัติจากผู้บริหารสูงสุด หรือผู้ที่ได้รับมอบอำนาจ

(2) มีการระบุวันที่การประกาศใช้นโยบายสิ่งแวดล้อมอย่างชัดเจน

(3) ผู้บริหารหรือผู้มีอำนาจจะต้อง สามารถอธิบายถึงวัตถุประสงค์และ จุดมุ่งหมายด้านสิ่งแวดล้อมของ สำนักงาน

(4) ผู้บริหารหรือผู้มีอำนาจจะต้องมีส่วน ในการติดตามผลการปฏิบัติตาม นโยบายสิ่งแวดล้อมของสำนักงาน
นโยบายพัฒนาสำนักหอสมุดกลางสู่ห้องสมุดสีเขียวได้รับการอนุมัติจากผู้บริหารโดยมีวันประกาศระบุไว้อย่างชัดเจน คือวันที่ 31 พฤษภาคม 2566 ทั้งนี้ผู้บริหารมีส่วนร่วมในการติดตามผลการปฎิบัติงานผ่านการประชุมคณะกรรมการพัฒนาห้องสมุดสีเขียวเป็นประจำทุกเดือน โดยมีรองผู้อำนวยการ สำนักหอสมุดกลางฝ่ายบริหารเป็นประธานในที่ประชุมGO-1.1.3-1 นโยบายพัฒนาสำนักหอสมุดกลางสู่ห้องสมุดสีเขียว
1.1.4 มีการกำหนดแผนการดำเนินงานสำนักงานสีเขียวประจำปี

(1) รายละเอียดของแผนจะต้องระบุการดำเนินงานครบถ้วนทุกหมวด

(2) มีการกำหนดเวลาหรือความถี่ของการดำเนินงานของแต่ละหมวด

(3) มีการกำหนดแผนดำเนินงานเป็นลายลักษณ์อักษร และได้รับการ อนุมัติจากผู้บริหาร
สำนักหอสมุดกลางมีการกำหนดแผนการดำเนินงานสำนักงานสีเขียว ประจำปี 2567 โดย กำหนดให้บุคลากรทุกคนมีส่วนร่วมในการรับผิดชอบตามแผน (บุคลากรทุกคนจะต้องรับผิดชอบงานอย่างน้อยคนละ 1 หมวด) มีการกำหนดความถี่ในการดำเนินงานแต่ละหมวดตามความเหมาะสม และแผนดังกล่าวได้รับการอนุมัติจากผู้บริหารสำนักหอสมุดกลางเป็นที่เรียบร้อย
1.1.5 มีการกำหนดเป้าหมาย และ ตัวชี้วัดที่ชัดเจนด้านการใช้ทรัพยากร พลังงาน และของเสีย และปริมาณก๊าซ เรือนกระจก ดังนี้

(1) การใช้ไฟฟ้า

(2) การใช้น้ำมันเชื้อเพลิง

(3) การใช้น้ำ

(4) การใช้กระดาษ

(5) ปริมาณของเสีย

(6) ปริมาณก๊าซเรือนกระจก
สำนักหอสมุดกลางได้กำหนดค่าเป้าหมายด้านสิ่งแวดล้อมตามประกาศสำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร เรื่อง กำหนดเป้าหมายการจัดการพลังงานและการใช้ทรัพยากร ประจำปี พ.ศ.2567 โดยเน้นความสอดคล้องกับเกณฑ์สำนักงานสีเขียว ดังนี้
1. ลดการใช้พลังงานไฟฟ้าลดลงจากค่าเฉลี่ยปี พ.ศ. 2566 ร้อยละ 2
2. ลดการใช้น้ําลดลงจากค่าเฉลี่ยปี พ.ศ. 2566 ร้อยละ 2
3. ลดการใช้น้ํามันเชื้อเพลิงลดลงจากค่าเฉลี่ย 6 เดือนแรก ปี พ.ศ. 2567 ร้อยละ 2
4. ลดการใช้กระดาษลดลงจากค่าเฉลี่ย 6 เดือนแรก ปี พ.ศ. 2567 ร้อยละ 2
5. ลดปริมาณก๊าซเรือนกระจกลดลงจากค่าเฉลี่ย 6 เดือนแรก ปี พ.ศ. 2567 ร้อยละ 2
6. ลดปริมาณของขยะลดลงจากค่าเฉลี่ย 6 เดือนแรก ปี พ.ศ. 2567 ร้อยละ 5
GO-1.1.5-1 กำหนดเป้าหมายการจัดการพลังงานและการใช้ทรัพยากร ประจำปี พ.ศ.2567

1.2 คณะทำงานด้านสิ่งแวดล้อม

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน
1.2.1 มีการแต่งตั้งคณะกรรมการหรือ ทีมงานด้านสิ่งแวดล้อม โดยมีแนวทางดำเนินงาน ดังนี้

(1) ผู้บริหารแต่งตั้งคณะกรรมการหรือ ทีมงานด้านสิ่งแวดล้อมของสำนักงาน อย่างเป็นลายลักษณ์อักษร และลงนามอนุมัติ โดยคณะกรรมการหรือ ทีมงานจะต้องครอบคลุมทุกหมวด และบุคลากร/ผู้แทนจากทุกฝ่าย ในหน่วยงาน

(2) กำหนดอำนาจ บทบาท หน้าที่รับผิดชอบ ของคณะกรรมการอย่างชัดเจน
สำนักหอสมุดกลางได้มีคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียว โดยผู้บริหารได้ลงนามอนุมัติเป็นลายลักษณ์อักษร ทั้งนี้ในคำสั่งแต่งตั้งได้มีการกำหนดบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของคณะกรรมการในแต่ละหมวด โดยมีโครงสร้างเแต่ละหมวดคือ ประธานหมวด เลขานุการหมวดและกรรมการประจำหมวดGO 1.2.1-1 แต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาห้องสมุดสีเขียวและสํานักงานสีเขียว สํานักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร
1.2.2 ร้อยละของคณะกรรมการ หรือ ทีมงานด้านสิ่งแวดล้อมที่มีความเข้าใจ ในบทบาท และหน้าที่รับผิดชอบ ประเมินจากการสุ่มสอบถามดังนี้

(1) ประธาน/หัวหน้า

(2) คณะกรรมการหรือทีมงานทางด้านสิ่งแวดล้อมที่รับผิดชอบทุกหมวด (สามารถมอบหมายให้ผู้ตรวจ ประเมินแต่ละหมวดสุ่มสอบถามได้)
คณะกรรมการพัฒนาห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียวมีการดำเนินงานตามแผนงานที่ได้รับมอบหมาย โดยมีประธานหมวดต่าง ๆ เป็นผู้รายงานความคืบหน้าในการดำเนินงานในที่ประชุมคณะกรรมการพัฒนาห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียวเป็นประจำทุกเดือน หลังจากนั้นแต่ละหมวดจะมีการประชุมแผนการดำเนินงานภายในหมวด โดยทั้งประธานหมวด เลขานุการหมวดและกรรมการประจำหมวดเพื่อขับเคลื่อนงานต่อไป

1.3 การระบุประเด็นปัญหาทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน
1.3.1 กิจกรรมทั้งหมดของสำนักงาน ภายใต้ขอบเขตการขอการรับรอง สำนักงานสีเขียวจะต้องได้รับการระบุ และประเมินปัญหาสิ่งแวดล้อม

(1) มีการรวบรวมกิจกรรมของสำนักงาน ทั้งทางตรง และทางอ้อม ครบถ้วน ตามกิจกรรม ขอบเขตและบริบท ของสำนักงาน
(2) มีการกำหนดผู้รับผิดชอบที่มีความรู้ ความเข้าใจ
(3) ระบุการใช้พลังงาน ทรัพยากร วัตถุดิบ มลพิษ ของเสีย ของแต่ละ กิจกรรมจะต้องครบถ้วน
(4) ระบุปัญหาสิ่งแวดล้อมทางตรงและ ทางอ้อมครบถ้วน
(5) ระบุปัญหาสิ่งแวดล้อมสภาวะปกติ ผิดปกติ และฉุกเฉินครบถ้วน
(6) มีการพิจารณากฎหมายสิ่งแวดล้อม ที่เกี่ยวข้องกับปัญหาสิ่งแวดล้อม นั้นๆ อย่างครบถ้วนและถูกต้อง
(7) การประเมินเพื่อจัดลำดับความสำคัญ ของปัญหาสิ่งแวดล้อม
(8) มีหลักฐานการกำหนดระยะเวลาใน การทบทวนการระบุประเด็นปัญหา สิ่งแวดล้อม การใช้ทรัพยากรและ พลังงาน อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
(9) กรณีมีการปรับแผน/กิจกรรม หรือมี กิจกรรมเพิ่มเติม (เช่น มีแผนที่จะ ก่อสร้างอาคาร หรือเพิ่มเติมกิจกรรม ของสำนักงานในอนาคตอันใกล้ เป็น ต้น) จะต้องระบุกิจกรรมดังกล่าว ด้วย (ถ้ามี)
สำนักหอสมุดกลางได้ทำการประเมินปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นจากกิจกรรมทั้งหมดภายใต้ขอบเขตของหน่วยงาน ในปี 2567 โดยมีการระบุผู้รับผิดชอบเป็นหัวหน้าฝ่ายหอสมุดวิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ มีการระบุรูปแบบการใช้วัสดุ อุปกรณ์ และพลังงานในกิจกรรมนั้น ๆ มีการจำแนกปัญหาเป็นแบบทางตรงและทางอ้อม หลังการประเมินพบว่า มีกิจกรรมทั้งสิ้น 15 กิจกรรม ก๊าซเรือนกระจกและฝุ่นละอองเป็นปัจจัยนำออกหลักที่มักจะพบเป็นผลลัพธ์จากหลายกิจกรรม เช่น การทำความสะอาดชั้นหนังสือ การทำความสะอาดเครื่องปรับอากาศ เป็นต้น ได้มีการวิเคราะห์กฎหมายที่มีความสอดคล้องกับกิจกรรมต่างทุกกิจกรรมและพบว่ากิจกรรมส่วนใหญ่ของหน่วยงานมีการดำเนินงานที่สอดคล้องกับกฎหมาย
1.3.2 การวิเคราะห์และแนวทางการ แก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีนัยสำคัญ

(1) มีสรุปรายการปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีนัยสำคัญ

(2) กำหนดมาตรการ คู่มือ หรือแนวทาง ปฏิบัติเพื่อแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีนัยสำคัญ

(3) ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีนัยสำคัญมีการ ดำเนินการตามมาตรการ คู่มือ หรือแนวทางการแก้ไขครบถ้วน
หลังจากการระบุและประเมินปัญหาสิ่งแวดล้อมของกิจกรรมต่าง ๆ ของหน่วยงาน ได้มีการนำปัญหาสิ่งแวดล้อมดังกล่าวมาจัดความสำคัญ พบว่ามีปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีระดับนัยสำคัญระดับปานกลางจำนวน 9 กิจกรรม และปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีระดับนัยสำคัญระดับต่ำจำนวน 6 กิจกรรม ทั้งนี้คณะกรรมการดำเนินงานได้ร่วมกันกำหนดแนวทางในการควบคุมและป้องกันปัญหาต่าง ๆ ไว้สำหรับทุกกิจกรรม เช่น กิจกรรมการพิมพ์เป็นกิจกรรมที่มีปัจจัยนำออกเป็นเสียงดังรบกวน จึงได้เสนอให้แนวทางการควบคุมเป็นการแยกเครื่องพิมพ์ออกจากพื้นที่โต๊ะทำงานเพื่อลดผลกระทบดังกล่าว เป็นต้น

1.4 กฎหมายและข้อกำหนดอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน
1.4.1 มีการรวบรวมกฎหมาย สิ่งแวดล้อมและความปลอดภัยที่ เกี่ยวข้องกับสำนักงาน โดยมีแนวทางการดำเนินงานดังนี้

(1) ผู้รับผิดชอบมีความเข้าใจในการรวบรวม กฎหมายสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้อง

(2) จัดทำรายการกฎหมายที่ครอบคลุมปัญหาสิ่งแวดล้อมและบริบทของ สำนักงาน

(3) สามารถระบุแหล่งที่มาของกฎหมาย และข้อกำหนดอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องได้

(4) สามารถระบุความเกี่ยวข้องของ กฎหมายกับประเด็นปัญหาสิ่งแวดล้อมได้

(5) กฎหมายสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัยที่เกี่ยวข้องจะต้องเป็นปัจจุบัน

(6) มีการรวบรวมและทบทวนกฎหมาย อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง



หมายเหตุ สำนักงานจะต้องค้นหากฎหมายท้องถิ่นเพิ่มเติม

สำนักหอสมุดกลางได้ทำการรวบรวมกฎหมายสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัยที่เกี่ยวข้องกับสำนักงานฉบับปัจจุบันไว้ที่ฐานข้อมูลของหน่วยงาน เช่น พระราชบัญญัติ ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ.2535 หรือ ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง มาตรฐานความเข้มของแสงสว่าง 2561 เป็นต้น และได้จัดทำทะเบียนกฎหมายและข้อกำหนดด้านสิ่งแวดล้อมของหน่วยงานขึ้นผ่านการวิเคราะห์ร่วมกันGO-1.4.1-1 ทะเบียนกฎหมายและข้อกำหนดด้านสิ่งแวดล้อม

1.4.2 ประเมินความสอดคล้องของ กฎหมายกับการดำเนินงานการจัดการ สิ่งแวดล้อมของสำนักงาน โดยมีการดำเนินการดังนี้

(1) ผู้รับผิดชอบมีความเข้าใจในการ ประเมินความสอดคล้องของ กฎหมายกับการดำเนินงานการ จัดการสิ่งแวดล้อม

(2) มีการประเมินความสอดคล้องของ กฎหมายครบถ้วน

(3) มีการอ้างอิงหลักฐานการปฏิบัติตาม กฎหมายอย่างครบถ้วนและถูกต้อง กรณีที่พบว่าการดำเนินงานไม่ สอดคล้องกับกฎหมาย จะต้องมีการ วิเคราะห์สาเหตุ และกำหนดแนว ทางการแก้ไข (ถ้ามี)

(4) มีการกำหนดความถี่ในการประเมิน ความสอดคล้องของกฎหมายอย่าง น้อยปีละ 1 ครั้ง ที่เหมาะสมและมี การปฏิบัติตามที่กำหนดได้
ผลจากการวิเคราะห์พบว่ากิจกรรมส่วนใหญ่ของสำนักหอสมุดกลางมีความสอดคล้องกับกฎหมายสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย เว้นเพียงเรื่องความเข้มของแสงสว่างของพื้นที่ต่าง ๆ ที่พบว่ามีพื้นที่ที่มีความสว่างไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานจำนวน 88 จุด (74%) และผ่านเกณฑ์มาตรฐานจำนวน 31 จุด (26%) จึงได้ทำการปรับปรุงความเข้มของแสงสว่างของพื้นที่ที่ไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดยการเปลี่ยนหลอดไฟที่มีความสว่างมากขึ้น ผสานไปกับโครงการใช้หลอดไฟฟ้าแบบประหยัดพลังงานและเซนเซอร์จับความเคลื่อนไหวด้วย

1.5 ข้อมูลก๊าซเรือนกระจก

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน
1.5.1 การเก็บข้อมูลก๊าซเรือนกระจก จากกิจกรรมในสำนักงาน จะต้องประกอบไปด้วย

(1) ปริมาณการใช้ไฟฟ้า

(2) ปริมาณการใช้เชื้อเพลิงสำหรับการเดินทาง

(3) ปริมาณการใช้น้ำประปา

(4) ปริมาณการใช้กระดาษ

(5) ปริมาณการเกิดของเสีย (ฝังกลบ) (โดยใช้ค่าสัมประสิทธิ์การปลดปล่อยก๊าซ เรือนกระจก (Emission Factor ; EF) ของ องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก ล่าสุด)
สำนักหอสมุดกลางได้ดำเนินการเก็บข้อมูลก๊าซเรือนกระจกโดยครอบคลุมทั้ง 5 ประเภท ตลอดปี 2567 สอดคล้องกับเกณฑ์สำนักงานสีเขียว มีการรายงานข้อมูลดังกล่าวในที่ประชุมคณะกรรมการพัฒนาห้องสมุดสีเขียวเป็นประจำทุกเดือน เพื่อติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน หลังจากนั้นจึงนำผลการดำเนินงานมาวิเคราะห์เพื่อพัฒนาแนวทางการดำเนินงานต่อไป
1.5.2 ปริมาณก๊าซเรือนกระจกบรรลุเป้าหมาย

กรณีบรรลุเป้าหมาย

(1) สรุปสาเหตุที่นำไปสู่การบรรลุ เพื่อการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง



กรณีไม่บรรลุเป้าหมาย

(1) มีการวิเคราะห์สาเหตุในกรณีที่ไม่บรรลุเป้าหมาย

(2) มีแนวทางการแก้ไขในกรณีที่ไม่ บรรลุเป้าหมาย

(3) มีการติดตามผลหลังแก้ไข
1.5.3 ร้อยละของพนักงานมีความ เข้าใจและการรับรู้ปริมาณก๊าซเรือนกระจกของสำนักงาน โดยจะต้องสอบถามดังนี้

(1) ความสำคัญของก๊าซเรือนกระจกกับการทำสำนักงานสีเขียว

(2) แนวทางการลดการปล่อยก๊าซเรือน กระจก

(3) ปริมาณก๊าซเรือนกระจกของสำนักงาน เมื่อเปรียบเทียบกับค่าเป้าหมาย
สำนักหอสมุดกลางได้มีการสื่อสารกับบุคลากรเกี่ยวกับก๊าซเรือนกระจกผ่านช่องทางต่างๆอย่างสม่ำเสมอ บุคลากรทุกคนมีส่วนร่วมในการช่วยลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกผ่านการดำเนินงานตามมาตรการต่าง ๆ เช่น มาตรการการควบคุมการใช้พลังงานไฟฟ้า มาตรการการประหยัดน้ำ เป็นต้น และเมื่อการดำเนินงานสิ้นสุดตามกรอบเวลาที่ได้กำหนดจึงได้มีการสื่อสารให้บุคลากรทุกคนทราบ ถึงผลการดำเนินงานเรื่องการปล่อยก๊าซเรือนกระจกเปรียบเทียบกับค่าเป้าหมายของหน่วยงาน

1.6 แผนงานโครงการที่นำไปสู่การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน
1.6.1 การกำหนดวัตถุประสงค์ เป้าหมาย และโครงการสิ่งแวดล้อม จะต้องมีการดำเนินการดังนี้

(1) วัตถุประสงค์ เป้าหมาย จะต้อง สอดคล้องกับนโยบายสิ่งแวดล้อม หรือปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีนัยสำคัญ หรือกฎหมายสิ่งแวดล้อม

(2) วัตถุประสงค์ เป้าหมาย สามารถ วัดผลได้

(3) กิจกรรม/นวัตกรรมที่กำหนดใน โครงการสิ่งแวดล้อมมีความสอดคล้อง กับวัตถุประสงค์และเป้าหมาย

(4) ระยะเวลาการทำโครงการมีความเหมาะสม

(5) โครงการมีการกำหนดผู้รับผิดชอบ อย่างชัดเจน และจะต้องมีความเข้าใจ
จากการตรวจวัดความเข้มของแสงสว่างตามเกณฑ์ 1.4 กฎหมายและข้อกำหนดอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง พบว่ามีบางพื้นที่ที่มีความสว่างต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน ผนวกกับความต้องการตรวจสอบและเปลี่ยนหลอดไฟที่ใช้อยู่ให้เป็นแบบประหยัดไฟ จึงนำไปสู่การดำเนินโครงการการเพิ่มประสิทธิภาพการลดการใช้พลังงานไฟฟ้า โดยมีวัตถุประสงค์ดังนี้
1. เพื่อลดการใช้พลังงานไฟฟ้าของสำนักหอสมุดกลาง
2. เพื่อสร้างค่านิยมและจิตสำนึกในการใช้พลังงาน
โดยมีเป้าหมายดังนี้
1. ใช้พลังงานไฟฟ้าลดลงจากค่าเฉลี่ยในช่วงเวลาเดียวกันของปี 2566 ร้อยละ 2
2. เปลี่ยนหลอดไฟเป็นแบบประหยัดไฟไม่น้อยกว่า 80% ในพื้นที่ให้บริการและสำนักงาน
3. เปลี่ยนหลอดไฟเป็นแบบเซ็นเซอร์จับความเคลื่อนไหวไม่น้อยกว่า 50% ในพื้นที่ทางสัญจร และห้องน้ำ
1.6.2 ผลสำเร็จของวัตถุประสงค์และ เป้าหมาย แนวทางการปรับปรุงอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน

(1) มีแผนการดำเนินโครงการหรือ นวัตกรรมที่ชัดเจน

(2) ดำเนินการตามแผนที่กำหนดไว้ อย่างต่อเนื่อง

3) มีการกำหนดความถี ่ในการติดตามผล และปฏิบัติตามอย่างต่อเนื่อง

(4) มีการติดตามความก้าวหน้าของ โครงการ

(5) ดำเนินการเสร็จสิ้นและบรรลุตาม เป้าหมายที่กำหนด / กรณีที่ไม่บรรลุเป้าหมายมีการทบทวนเพื่อหา สาเหตุและแนวทางแก้ไข

(6) มีการกำหนดแนวทางเพื่อให้เกิด ความต่อเนื่องและยั่งยืนหลังบรรลุ เป้าหมายตามที่กำหนด
สำนักหอสมุดกลางได้มีการกำหนดแผนการดำเนินโครงการอย่างชัดเจน โดยมีการติดตามผลเป็นระยะผ่านที่ประชุมคณะกรรมการพัฒนาห้องสมุดสีเขียว ทั้งนี้ทางสำนักหอสมุดกลางมีแผนที่จะปรับปรุงกายภาพอาคารหม่อมหลวงปิ่น มาลากุลในปี 2569 ซึ่งได้แจ้งทางผู้ออกแบบพื้นที่กายภาพให้ทราบถึงมาตรฐานความเข้มของแสงสว่างดวงโคมที่จะทำการติดตั้งใหม่ด้วย ส่วนอาคารหอสมุดพระราชวังสนามจันทร์ได้ดำเนินการเปลี่ยนหลอดไฟใหม่ทั้งหมดเป็นหลอดประหยัดไฟที่มีค่าความเข้มแสงสว่างผ่านเกณฑ์มาตรฐาน

1.7 การตรวจประเมินสำนักงานสีเขียวภายในสำนักงาน (สำหรับหน่วยงานต่ออายุและขอยกระดับสำนักงานสีเขียว)

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน
1.7.1 การวางแผนและดำเนินการตรวจประเมินสำนักงานสีเขียวภายในสำนักงาน

(1) มีการแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจประเมินสำนักงานสีเขียวภายในสำนักงาน ประกอบด้วย หัวหน้า ผู้ตรวจประเมินและผู้ตรวจประเมิน ซึ่งจะต้องผ่านการฝึกอบรมหลักสูตร การดำเนินงานสำนักงานสีเขียว และหลักสูตรการตรวจประเมินสำนักงาน สีเขียว

(2) มีการกำหนดความถี่ในการตรวจประเมินสำนักงานสีเขียวภายในสำนักงานอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง

(3) มีการจัดทำข้อกำหนดการตรวจประเมินภายในครอบคลุมทุกหมวด

(4) กำหนดผู้ตรวจประเมินภายในแต่ละหมวดมีความเพียงพอและเหมาะสม มีความเป็นอิสระในการตรวจประเมิน อย่างชัดเจน

(5) การดำเนินการตรวจประเมินสำนักงานสีเขียวภายในสำนักงานครบถ้วนทุกหมวด

1.8 การทบทวนฝ่ายบริหาร

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน
1.8.1 การกำหนดองค์ประชุมทบทวนฝ่ายบริหาร

(1) มีผู้บริหารเข้าร่วมประชุม

(2) มีตัวแทนของแต่ละฝ่าย/แผนก/ส่วน งานที่มีความเกี่ยวข้องกับการดำเนินงานในแต่ละหมวดเข้าร่วมประชุม

(3) จำนวนผู้เข้าร่วมการประชุมจะต้อง มากกว่าร้อยละ 75 ของจำนวนผู้ที่เป็นคณะกรรมการสำนักงานสีเขียว พร้อมหลักฐานการลงนามเข้าร่วม ประชุม

(4) หากผู้ที่จะต้องเข้าประชุมไม่สามารถเข้าร่วมได้ จะต้องมีวิธีการรายงาน ผลการประชุมให้รับทราบ พร้อมรับข้อเสนอแนะ
เมื่อวันที่ 25 ตุลาคม 2567 ได้มีการจัดประชุมทบทวนฝ่ายบริหาร โดยมีผู้บริหาร ประธาน เลานุการและกรรมการประจำหมวดเข้าร่วมการประชุมทั้งสิ้น 64 คน ลาประชุม 18 คน โดยมีผู้เข้าร่วมการประชุมคิดเป็นร้อยละ 78 ของบุคลากรทั้งหมด หลังจากการประชุมได้มีการส่งรายงานการประชุมไปยังบุคลากรทุกคนผ่านระบบ D-SarabunGO-1.8.1-1 รายงานการประชุมทบทวนฝ่ายบริหาร

GO-1.8.1-2 ภาพถ่ายการประชุม
1.8.2 มีการกำหนดวาระการประชุม และทำการประชุมทบทวนฝ่ายบริหาร ดังนี้

(1) มีการประชุมทบทวนฝ่ายบริหาร อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง

(2) วาระที่ 1 การติดตามผลการประชุม ทบทวนฝ่ายบริหารที่ผ่านมา

(3) วาระที่ 2 นโยบายสิ่งแวดล้อม

(4) วาระที่ 3 ความมีประสิทธิภาพของ คณะกรรมการหรือทีมงานด้าน สิ่งแวดล้อม (ความเพียงพอและ ความเหมาะสม)

(5) วาระที่ 4 การติดตามผลการ ดำเนินงานด้านสิ่งแวดล้อม การ สื่อสารและข้อคิดเห็นด้านสิ่งแวดล้อม การปฏิบัติตามกฎหมาย รวมถึงแนวทางการแก้ไขปรับปรุง และพัฒนา

(6) วาระที่ 5 การเปลี่ยนแปลงที่จะ ส่งผลกระทบต่อความสำเร็จในการ ดำเนินงานด้านสิ่งแวดล้อม

(7) วาระที่ 6 ข้อเสนอแนะจากที่ประชุม และวิสัยทัศน์ แนวคิดของผู้บริหาร ของการดำเนินงานสำนักงานสีเขียว อย่างต่อเนื่อง

(8) จัดทำรายงานการประชุมทบทวน ฝ่ายบริหาร และภาพถ่ายที่แสดงให้ เห็นว่ามีการประชุมจริง
การประชุมทบทวนฝ่ายบริหารที่ได้จัดขึ้นในวันที่ 25 ตุลาคม 2567 นั้นมีวาระที่เป็นไปตามข้อกำหนดหมวด 1.3.2 โดยการประชุมเป็นรูปแบบผสมผสานทั้งออนไซด์และออนไลน์

2.1 การอบรมให้ความรู้และประเมินความเข้าใจ

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน

2.1.1 กำหนดแผนการฝึกอบรม ดำเนินการอบรม การประเมินผล และ บันทึกประวัติการฝึกอบรม

(1) ระบุหลักสูตรและความถี่การอบรม ลงในแผนการฝึกอบรม โดยหลักสูตร ครอบคลุมเนื้อหามีรายละเอียด อย่างน้อย ดังนี้

– ความสำคัญของสำนักงานสีเขียว

– การใช้พลังงานและทรัพยากร อย่างมีประสิทธิภาพ

– การจัดการมลพิษและของเสีย

– การจัดซื้อจัดจ้างที่เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม

– ก๊าซเรือนกระจก

(2) ดำเนินการฝึกอบรมตามแผนการ ฝึกอบรมในข้อ (1) โดยผู้รับการ อบรมจะต้องมากกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายในแต่ละหลักสูตร

(3) ประเมินผลการฝึกอบรม เช่น ข้อสอบ หรือการประเมินขณะ ปฏิบัติงาน เป็นต้น

(4) จัดทำประวัติการอบรมของพนักงาน
มีแผนการฝึกอบรมเนื้อหา 5 ด้านและดำเนินการตามแผน

  -ฝึกอบรมและฝึกซ้อมอพยพหนีไฟ วันที่ 17 มิ.ย.67 ณ สำนักหอสมุดกลาง วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ หอสมุดท่าพระและหอสมุดวิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี

  -ฝึกอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียว วันที่ 23 ก.ค.2567 ณ สำนักหอสมุดกลาง ชั้น 5 นครปฐม และออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom

ท่านวิทยากร รองศาสตราจารย์ ดร.สยาม อรุณศรีมรกต คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ให้ความรู้กับบุคลากร เรื่องทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
2 โครงการ ดังนี้

  1. สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดโครงการอบรม Go Go SU GREEN LIBRARY เพื่อให้เป็นไปตามนโยบายของสำนักหอสมุดกลาง เห็นควรจัดโครงการอบรมให้ความรู้กับบุคลากรด้านห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียว เพื่อให้บุคลากรตระหนักถึงการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องดังกล่าว นำไปปรับใช้ในการดำเนินงานและในชีวิตประจำวันรวมถึงมีส่วนร่วมในการผลักดันให้ สำนักหอสมุดกลางเป็นห้องสมุดสีเขียวที่มีสภาพแวดล้อมที่น่าอยู่ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและมีการพัฒนาที่ยั่งยืนต่อไป โดย รศ.ดร.สยาม อรุณศรีมรกต คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ ม.มหิดล วันที่ 23 กรกฎาคม 2567 เวลา 09.00-16.30 น. ณ ห้องประชุม 1 ชั้น 5 อาคารหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ และผ่านระบบออนไลน์โปรแกรม Zoom วิทยาเขตวังท่าพระและวิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี

  2. สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดโครงการอบรมการให้ความรู้เรื่องการระบุและประเมินปัญหาสิ่งแวดล้อม เพื่อให้เป็นไปตามนโยบายของสำนักหอสมุดกลาง เห็นควรจัดโครงการอบรมให้ความรู้ กับบุคลากรด้านห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียว เพื่อให้บุคลากรตระหนักถึงการอนุรักษ์พลังงาน และสิ่งแวดล้อม มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการระบุและประเมินปัญหาสิ่งแวดล้อม โดย รศ.ดร.สยาม อรุณศรีมรกต คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ ม.มหิดล วันที่ 8 ตุลาคม 2567 เวลา 08.30-16.30 น.
ณ ห้องประชุม 1 ชั้น 5 อาคารหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์

  3. โครงการอบรมฝึกซ้อมอพยพหนีไฟและปฐมพยาบาลเบื้องต้น ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดโครงการอบรมฝึกซ้อมอพยพหนีไฟและปฐมพยาบาลเบื้องต้น ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 วันที่ 17 มิถุนายน 2567 เวลา 09.00-12.00 น. ณ ห้องประชุม 1 ชั้น 5 อาคารหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ และผ่านระบบออนไลน์โปรแกรม Zoom วิทยาเขตวังท่าพระและวิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี
GO-2.1.1-1 แบบทดสอบความรู้

GO-2.1.1-2 สื่อที่ใช้การสร้างความรู้

GO-2.1.1-3 แผนการอบรมความรู้ด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

GO-2.1.1-4 รายละเอียดการฝึกอบรมด้านสิ่งแวดล้อม

GO-2.1.1-5 หลักฐานการลงทะเบียนอบรม Green SULIB 8 ต.ค. 2567

GO-2.1.1-5 หลักฐานการลงทะเบียนอบรม Green SULIB 8 ต.ค. 2567

GO-2.1.1-6 หลักฐานการลงทะเบียนอบรม Green SULIB 23 ก.ค. 2567

GO-2.2.1-7 (1-3) การฝึกอบรม
2.1.2 กำหนดผู้รับผิดชอบด้านการ อบรมแต่ละหลักสูตรมีความเหมาะสม

(1) ผู้รับผิดชอบในการอบรมจะต้อง เข้าใจเนื้อหาในการอบรม

(2) ผู้รับผิดชอบในการอบรมจะต้องมี หลักฐานแสดงความสามารถ เช่น ใบรับรองจากหน่วยงานภายนอก หรือ ประวัติ หรือประสบการณ์ (อย่างใดอย่างหนึ่ง)
ประวัติวิทยากร
  รองศาสตราจารย์ ดร.สยาม อรุณศรีมรกต คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
GO-2.1.1-1 ประวัติวิทยากร

GO-2.1.1-2 ประวัติวิทยากร (เพิ่มเติม)

2.2 การรณรงค์และประชาสัมพันธ์แก่พนักงาน

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน
2.2.1 มีการกำหนดผู้รับผิดชอบและแนวทางสื่อสารด้านสิ่งแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกสำนักงาน

(1) กำหนดหัวข้อและความถี่การสื่อสารอย่างน้อย ดังนี้



(2) กำหนดช่องทางการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพกับหัวข้อการสื่อสาร และองค์กร (ไม่จำกัดจำนวนช่องทาง)

(3) กำหนดกลุ่มเป้าหมายรับเรื่องสื่อสาร (ผู้ที่เกี่ยวข้องที่อยู่ภายในและภายนอกสำนักงาน)

(4) กำหนดผู้รับผิดชอบในการสื่อสาร
   สำนักหอสมุดกลางมีการรณรงค์สื่อสารและให้ความรู้ตามแผนการสื่อสารด้านสิ่งแวดล้อมประจำปี 2567 ในหัวข้อต่างๆ ได้แก่ นโยบายสิ่งแวดล้อม ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีนัยสำคัญ การปฏิบัติตามกฎหมาย ความสะอาดและความเป็นระเบียบ 5ส เป้าหมายและมาตรการใช้ทรัพยากร เป้าหมายและมาตรการจัดการของเสียผลการใช้ทรัพยากร พลังงาน ของเสีย สินค้าและบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และปริมาณก๊าซเรือนกระจกโดยได้มีการรณรงค์สื่อสารในหลากกลายช่องทาง เช่น สื่อสิ่งพิมพ์สื่ออิเล็กทรอนิกส์และสื่อบุคคล ซึ่งสามารถ
แสดงหลักฐานการรณรงค์สื่อสาร ดังนี้

   – สื่อสิ่งพิมพ์ : โปสเตอร์

   – สื่ออิเล็กทรอนิกส์ : เว็บไซต์ Social Media: Facebook Group / Line Group
https://lib.su.ac.th/direction-green/

   – สื่อบุคคล : การประชุมฝ่าย/งาน ทั้งรูปแบบปกติและการประชุมออนไลน์และสื่อวิดีโอให้ความรู้ : โปสเตอร์, สติกเกอร์รณรงค์
 - การจัดการพลังงานและการใช้ทรัพยากร
GO-2.2.1-1 แผนการประชาสัมพันธ์ GREEN ปี 2567

GO-2.2.1-2 การรณรงค์สื่อสารและให้ความรู้ตามแผนการสื่อสาร
2.2.2 มีการรณรงค์สื่อสารและให้ ความรู้ตามที่กำหนดในข้อ 2.2.12.2.1 มีการกำหนดผู้รับผิดชอบและแนวทางสื่อสารด้านสิ่งแวดล้อมทั้งภายในและภายนนอกสำนักงาน

(1) กำหนดหัวข้อและความถี่การสื่อสาร เอกสารประกอบ : แผนการสื่อสารด้านสิ่งแวดล้อมประจำปี 2567

(2) กำหนดช่องทางการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพกับหัวข้อการสื่อสารและองค์กร

  - เอกสารแนบ รายงานผลการประชุมการกำหนดและการทบทวนช่องทางการสื่อสารองค์กรด้านสำนักงานสีเขียว
ช่องทางการสื่อสารกับบุคลากร

   1. สื่อสิ่งพิมพ์ : โปสเตอร์

   2. สื่ออิเล็กทรอนิกส์ : เว็บไซต์/ ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ d-Saraban / Social Media : Facebook / Line

   3. สื่อบุคคล : การประชุมฝ่าย/งาน ทั้งรูปแบบปกติและการประชุมออนไลน์

ช่องทางการสื่อสารกับผู้รับบริการ

   1. สื่อสิ่งพิมพ์ : โปสเตอร์

   2. สื่ออิเล็กทรอนิกส์ : เว็บไซต์/ Social Media : Facebook Fanpage

(3) กำหนดกลุ่มเป้าหมายรับเรื่องสื่อสาร (รายงานในแผนการสื่อสารฯ)

(4) กำหนดผู้รับผิดชอบในการสื่อสาร
GO-2.2.2-1 รณรงค์สื่อสาร ให้ความรู้
2.2.3 ร้อยละความเข้าใจนโยบาย สิ่งแวดล้อมและการดำเนินงาน สำนักงานสีเขียว (สุ่มอย่างน้อย 4 คน) โดยจะต้องสอบถามพนักงานแต่ละคน อย่างน้อยตามข้อ 2.2.1 (1)ร้อยละความเข้าใจนโยบายสิ่งแวดล้อมและการดำเนินงานสำนักงานสีเขียว (สุ่มอย่างน้อย 4 คน) โดยจะต้องสอบถามบุคลากรแต่ละคนอย่างน้อยตามข้อ 2.2.1 (1)
– ณ วันตรวจประเมิน –
GO-2.2.3-1 ร้อยละความเข้าใจนโยบายสิ่งแวดล้อมและการดำเนินงานสำนักงานสีเขียว (สุ่มอย่างน้อย 4 คน)
2.2.4 มีช่องทางรับข้อเสนอแนะ/ ข้อคิดเห็นด้านสิ่งแวดล้อม และนำมา ปรับปรุงแก้ไข โดยต้องมีแนวทางดังนี้

(1) มีช่องทางเพื่อรับข้อเสนอแนะ/ ข้อคิดเห็นด้านสิ่งแวดล้อม เช่น ไลน์ QR Code การประชุม เว็บไซต์

(2) มีผู้รับผิดชอบในการรับข้อเสนอแนะ/ ข้อคิดเห็น

(3) มีการแสดงข้อเสนอแนะด้าน สิ่งแวดล้อมและการจัดการ

(4) มีการรายงานข้อเสนอแนะและการ จัดการแก่ผู้บริหาร (บรรยายให้ เหมาะสม)
(1) มีช่องทางเพื่อรับข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็นด้านสิ่งแวดล้อม เช่น ไลน์ QR Code การประชุม เว็บไซต์สำนักหอสมุดกลาง เปิดรับข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็นด้านสิ่งแวดล้อม ใน 2 ช่องทางคือ

   1) ช่องทางระบบรับฟังเสียงของลูกค้า หรือ ระบบรับฟังเสียงของลูกค้า (VOC)
ติด QR Code เพื่อรับข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็นด้านสิ่งแวดล้อม ทั้งภายในและภายนอกอาคารสำนักหอสมุดกลาง เพื่ออำนวยความสะดวกในการแจ้งข้อเสนอแนะ

   2) ช่องทาง Line Official สำหรับผู้ใช้บริการ และ Line Group ภายในสำหรับผู้ปฏิบัติงานของสำนักหอสมุดกลาง

จากรายงานการประชุมคณะกรรมการฯ ทุกครั้งในการประชุมรายงานผล

– ไม่พบข้อร้องเรียน –

ฟอร์มรับข้อเสนอแนะด้านสิ่งแวดล้อม สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร (Suggestion e-Form SU GREEN LIBRARY)
GO-2.2.4-1 ช่องทางรับข้อเสนอแนะ ข้อคิดเห็นด้านห้องสมุดสีเขียว

GO-2.2.4-2 Flowchart การจัดการข้อเสนอแนะด้านสิ่งแวดล้อม

3.1 การใช้น้ำ

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน
3.1.1 มาตรการหรือแนวทางใช้น้ำมีความเหมาะสมกับสำนักงาน จะต้องประกอบไปด้วยรายละเอียดดังนี้

(1) การสร้างความตระหนักในการใช้น้ำ

(2) การกำหนดเวลาการใช้น้ำ เช่น เวลารดน้ำต้นไม้ เป็นต้น

(3) การกำหนดรูปแบบการนำน้ำกลับมาใช้ใหม่

(4) การเปลี่ยนอุปกรณ์ประหยัดน้ำ
สำนักงานฯ มีการติดตั้งมาตรวัดปริมาณการใช้น้ำประจำแต่ละอาคาร โดยแบ่งเป็นมาตรวัดของอาคารหอสมุดพระราชวังสนามจันทร์รวม 4 ชั้น และมาตรวัดของอาคารหม่อมหลวงปิ่น มาลากุลรวม 5 ชั้น นอกจากนี้มีประกาศมาตรการประหยัดพลังงานและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ตามเอกสาร (GO-3.1.1-1) การประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างความตระหนักแก่บุคลากรและผู้ใช้บริการทั้งการติดป้ายในบริเวณที่มีการใช้น้ำ และในช่องทางออนไลน์ (ซึ่งจัดทำโดยหมวด 2) ตามเอกสาร (GO-3.1.1-2) อีกทั้งยังมีการสำรวจอุปกรณ์การใช้น้ำและมีการซ่อมแซมอย่างสม่ำเสมอ ตามเอกสาร (GO-3.1.1-3)GO-3.1.1-1 มาตรการหรือแนวทางใช้น้ำ

GO-3.1.1-2 การสร้างความตระหนักในการใช้น้ำ

GO-3.1.1-3 การเปลี่ยนอุปกรณ์ประหยัดน้ำ
3.1.2 มีการจัดทำข้อมูลการใช้น้ำต่อหน่วยเปรียบเทียบกับเป้าหมายการเก็บข้อมูล

กรณีบรรลุเป้าหมาย

(1) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำแต่ละเดือน

(2) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำต่อหน่วย

(3) บรรลุเป้าหมาย

(4) สรุปสาเหตุที่นำไปสู่การบรรลุ เพื่อการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง

การเก็บข้อมูล กรณีไม่บรรลุเป้าหมาย

(1) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำแต่ละเดือน

(2) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำต่อหน่วย

(3) มีการวิเคราะห์สาเหตุและแนวทางแก้ไข
สำนักงานฯ มีการกำหนดเป้าหมายลดปริมาณการใช้น้ำลดลงร้อยละ 2 ของค่าเฉลี่ยการใช้น้ำ พ.ศ. 2566 ตามเอกสาร (GO-3.1.2-1) มีการเปรียบเทียบปริมาณที่ใช้กับค่าเป้าหมาย และสรุปสาเหตุที่นำไปสู่การบรรลุ/ไม่บรรลุเป้าหมาย ตามเอกสาร (GO-3.1.2-2)
GO-3.1.2-1 เป้าหมายการใช้น้ำ

GO-3.1.2-2 บันทึกการใช้น้ำ
3.1.3 ร้อยละของการปฏิบัติตามมาตรการประหยัดน้ำในพื้นที่ทำงาน (ประเมินจากพฤติกรรมของบุคลากรในพื้นที่)หอสมุดวังท่าพระดำเนินการตามมาตรการประหยัดน้ำดังต่อไปนี้
1. ประชาสัมพันธbทางช่องทางต่างๆ ให้บุคลากรและผู้รับบริการตระหนักถึงความสำคัญของการประหยัดน้ำ
2. สำรวจอุปกรณ์ ถังเก็บน้ำและท่อน้ำประปา ปีละ 1 ครั้ง พร้อมบันทึกผลการสำรวจ
3. จดบันทึกปริมาณการใชKน้ำทุกเดือน
4. ประเมินผลการใช้น้ำและนำผลการประเมินมาปรับปรุงและดำเนินการแก้ไข
5. กำหนดให้รดน้ำต้นไม้ในช่วงเวลา 07.30 – 08.30 น. และให้ดูความเหมาะสมกับสภาพอากาศและฤดูกาล
6. ให้นำน้ำที่เหลือจากการกิจกรรมต่าง ๆ มาใช้ซ้ำ เช่น น้ำเหลือจากการดื่มหรือการทำความสะอาดไปรดน้ำต้นไม้ เป็นต้น
7. หากอุปกรณ์ประปาหรือสุขภัณฑ์ชำรุด แจ้งผู้เกี่ยวข้องเพื่อดำเนินการซ่อมแซม หากมีความจำเป็นต้องเปลี่ยนอุปกรณ์หรือสุขภัณฑ์ให้พิจารณาเปลี่ยนเป็นประเภทประหยัดน้ำ
8. ปิดน้ำให้สนิททุกครั้งเมื่อเลิกใช้งาน
9. ไม่เปิดน้ำทิ้งไว้ระหว่างล้างหน้าแปรงฟัน หรือฟอกสบู่เพื่อล้างมือ หรือระหว่างใช้น้ำยาล้างจานล้างภาชนะ
GO-3.1.3-1 แบบประเมินร้อยละของการปฏิบัติตามมาตรการมาตรการฯ

3.2 การใช้พลังงาน

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน
3.2.1 มาตรการหรือแนวทางการใช้ไฟฟ้าเหมาะสมกับสำนักงาน จะต้องประกอบไปด้วยรายละเอียดดังนี้

(1) การสร้างความตระหนักในการใช้ไฟฟ้า

(2) การกำหนดเวลาการใช้ไฟฟ้า เช่น เวลาการเปิด – ปิด เป็นต้น

(3) การใช้พลังงานทดแทน

(4) การเปลี่ยนอุปกรณ์ประหยัดไฟฟ้า
สำนักงานฯ มีมิเตอร์วัดปริมาณการใช้ไฟฟ้าประจำแต่ละอาคาร โดยแบ่งเป็นมาตรวัดของอาคารหอสมุดพระราชวังสนามจันทร์รวม 4 ชั้น และมิเตอร์วัดของอาคารหม่อมหลวงปิ่น มาลากุลทั้ง 5 ชั้น นอกจากนี้มีประกาศมาตรการประหยัดพลังงานและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ตามเอกสาร (GO-3.2.1-1) การประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างความตระหนักแก่บุคลากรและผู้ใช้บริการ ทั้งการติดป้ายในบริเวณที่มีการใช้ไฟฟ้า และในช่องทางออนไลน์ (ซึ่งจัดทำโดยหมวด 2) ตามเอกสาร (GO-3.2.1-2) อีกทั้งยังมีการสำรวจอุปกรณ์การใช้ไฟฟ้าและมีการซ่อมแซมอย่างสม่ำเสมอ ตามเอกสาร (GO-3.2.1-3)GO-3.2.1-1 มาตรการหรือแนวทางการใช้ไฟฟ้า

GO-3.2.1-2 การสร้างความตระหนักในการใช้ไฟฟ้า

GO-3.2.1-3 การเปลี่ยนอุปกรณ์ประหยัดไฟฟ้า
3.2.2 มีการจัดทำข้อมูลการใช้ไฟฟ้าต่อหน่วยเปรียบเทียบกับเป้าหมาย

การเก็บข้อมูล กรณีบรรลุเป้าหมาย

(1) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้ไฟฟ้าแต่ละเดือน

(2) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้ไฟฟ้าต่อหน่วย

(3) บรรลุเป้าหมาย

(4) สรุปสาเหตุที่นำไปสู่การบรรลุ เพื่อการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง

การเก็บข้อมูล กรณีไม่บรรลุเป้าหมาย

(1) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้ไฟฟ้าแต่ละเดือน

(2) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้ไฟฟ้าต่อหน่วย

(3) มีการวิเคราะห์สาเหตุและแนวทางแก้ไข
สำนักงานฯ มีการกำหนดเป้าหมายลดปริมาณการไฟฟ้าลดลงร้อยละ 2 ของค่าเฉลี่ยการใช้ไฟฟ้า พ.ศ. 2566 ตามเอกสาร (GO-3.2.2-1) มีการเปรียบเทียบปริมาณที่ใช้กับค่าเป้าหมาย และสรุปสาเหตุที่นำไปสู่การบรรลุ/ไม่บรรลุเป้าหมาย ตามเอกสาร (GO-3.2.2-2)GO-3.2.2-1 เป้าหมายการใช้ไฟฟ้า
3.2.3 ร้อยละของการปฏิบัติตามมาตรการประหยัดไฟฟ้าในพื้นที่ทำงาน (ประเมินจากพฤติกรรมของบุคลากรในพื้นที่)GO-3.2.3-1 แบบประเมินร้อยละของการปฏิบัติตามมาตรการมาตรการฯ
3.2.4 มาตรการหรือแนวทางการใช้ น้ำมันเชื้อเพลิงในการเดินทางที่เหมาะสมกับสำนักงาน ดำเนินการดังนี้

(1) การสื่อสารผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์

(2) การวางแผนการเดินทาง

(3) การซ่อมบำรุงดูแลยานพาหนะ

(4) การใช้จักรยานหรือขนส่งสาธารณะมาทำงาน
สำนักงานฯ มีการนำระบบประชุมออนไลน์เข้ามาใช้ และการลงนามด้วย e-Signature ของระบบ d-Saraban เพื่อลดระยะเวลาในการเดินทางข้ามวิทยาเขต และเพื่อเป็นการประหยัดน้ำมันเชื้อเพลิง ตามเอกสาร (GO-3.2.4-1) นอกจากนี้ยังมีการใช้ระบบขอใช้ยานพาหนะซึ่งทางสำนักงานฯ เป็นผู้พัฒนาขึ้นมาเพื่อใช้วางแผนการจัดสรรรถได้อย่างเหมาะสมสำหรับการขอใช้ในแต่ละครั้ง ตามเอกสาร (GO-3.2.4-2) และมีการซ่อมบำรุงดูแลยานพาหนะตามระยะการใช้งานที่เหมาะสม ตามเอกสาร (GO-3.2.4-3)GO-3.2.4-1 มาตรการหรือแนวทางการใช้น้ำมันเชื้อเพลิง

GO-3.2.4-2 การสื่อสารผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์

GO-3.2.4-3 การวางแผนการเดินทาง

GO-3.2.4-4 การซ่อมบำรุงดูแลยานพาหนะ
3.2.5 มีการจัดทำข้อมูลการใช้น้ำมัน เชื้อเพลิงต่อหน่วยเปรียบเทียบกับเป้าหมาย

การเก็บข้อมูล กรณีบรรลุเป้าหมาย

(1) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงแต่ละเดือน

(2) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงต่อหน่วย

(3) บรรลุเป้าหมาย

(4) สรุปสาเหตุที่นำไปสู่การบรรลุเพื่อการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง

การเก็บข้อมูล กรณีไม่บรรลุเป้าหมาย

(1) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงแต่ละเดือน

(2) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงต่อหน่วย

(3) มีการวิเคราะห์สาเหตุและแนวทางแก้ไข
สำนักงานฯ มีการกำหนดเป้าหมายลดปริมาณการน้ำมันเชื้อเพลิงลดลงร้อยละ 2 ของค่าเฉลี่ยการใช้น้ำมันเชื้อเพลิง 6 เดือนแรก พ.ศ. 2567 ตามเอกสาร (GO-3.2.5-1) มีการเปรียบเทียบปริมาณที่ใช้กับค่าเป้าหมาย และสรุปสาเหตุที่นำไปสู่การบรรลุ/ไม่บรรลุเป้าหมาย ตามเอกสาร (GO-3.2.5-2)GO-3.2.5-1 เป้าหมายการใช้น้ำมันเชื้อเพลิง

GO-3.2.5-2 บันทึกการใช้น้ำมันเชื้อเพลิง

3.3 การใช้ทรัพยากรอื่น ๆ

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน
3.3.1 มาตรการหรือแนวทางการใช้กระดาษที่เหมาะสมกับสำนักงาน จะต้องประกอบไปด้วยรายละเอียดดังนี้

(1) การสร้างความตระหนักในการใช้กระดาษ

(2) การกำหนดรูปแบบการใช้กระดาษ

(3) การใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์

(4) การนำกระดาษกลับมาใช้ใหม่
สำนักงานฯ มีการใช้งานระบบ d-Saraban ของทางมหาวิทยาลัยศิลปากร ในการรับ-ส่งเอกสารราชการ ใช้แบบฟอร์มการประเมินผลโครงการ/กิจกรรมต่าง ๆ ใช้เอกสารประกอบการอบรมหรือบรรยาย ในรูปแบบเอกสารดิจิทัล ตลอดจนประชาสัมพันธ์ข่าวสาร โครงการ/กิจกรรมต่าง ๆ ผ่านช่องทางออนไลน์แทนการติดแผ่นประกาศ ตามเอกสาร (GO-3.3.1-1) นอกจากนี้ยังได้มีการกำหนดจุดรวบรวมกระดาษที่ใช้แล้วเพียง 1 หน้า เพื่อนำกลับมาใช้ซ้ำในหน้าที่ 2 ตามเอกสาร (GO-3.3.1-2)GO-3.3.1-1 มาตรการหรือแนวทางการใช้กระดาษ

GO-3.3.1-2 การใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์

GO-3.3.1-3 การนำกระดาษกลับมาใช้ใหม่
3.3.2 มีการจัดทำข้อมูลการใช้กระดาษ ต่อหน่วยเปรียบเทียบกับเป้าหมาย

การเก็บข้อมูล กรณีบรรลุเป้าหมาย

(1) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้กระดาษแต่ละเดือน

(2) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้กระดาษต่อหน่วย

(3) บรรลุเป้าหมาย

(4) สรุปสาเหตุที่นำไปสู่การบรรลุ เพื่อการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง

การเก็บข้อมูล กรณีไม่บรรลุเป้าหมาย

(1) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้กระดาษแต่ละเดือน

(2) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้กระดาษต่อหน่วย

(3) มีการวิเคราะห์สาเหตุและแนวทางแก้ไข
สำนักงานฯ มีการกำหนดเป้าหมายลดปริมาณการใช้กระดาษลดลงร้อยละ 2 ของค่าเฉลี่ยการใช้กระดาษ 6 เดือนแรก พ.ศ. 2567 ตามเอกสาร (GO-3.3.2-1) มีการเปรียบเทียบปริมาณที่ใช้กับค่าเป้าหมาย และสรุปสาเหตุที่นำไปสู่การบรรลุ/ไม่บรรลุเป้าหมาย ตามเอกสาร (GO-3.3.2-2)GO-3.3.2-1 เป้าหมายการใช้กระดาษ

GO-3.3.2-2 บันทึกการใช้กระดาษ
3.3.3 ร้อยละของการปฏิบัติตามมาตรการประหยัดกระดาษในพื้นที่ทำงาน (ประเมินจากพฤติกรรมของบุคลากรในพื้นที่)GO-3.3.3-1 แบบประเมินร้อยละของการปฏิบัติตามมาตรการมาตรการฯ
3.3.4 มาตรการหรือแนวทางการใช้หมึกพิมพ์ อุปกรณ์เครื่องเขียน วัสดุ อุปกรณ์เหมาะสมกับสำนักงาน จะต้องประกอบไปด้วยรายละเอียดดังนี้

(1) การสร้างความตระหนักในการใช้

(2) การกำหนดรูปแบบการใช้

(3) การใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์
สำนักงานฯ มีการใช้เครื่องพิมพ์ร่วมกันผ่านระบบเครือข่าย โดยแยกเครื่องพิมพ์แบบ 4 สี กับเครื่องพิมพ์แบบสีเดียว (ขาว-ดำ) ใช้อุปกรณ์เครื่องเขียน วัสดุ อุปกรณ์ร่วมกัน โดยมีการจัดวางอยู่ในบริเวณต่าง ๆ ตามเอกสาร (GO-3.3.4-1) และมีการใช้งานระบบ d-Saraban ของทางมหาวิทยาลัยศิลปากร ในการรับ-ส่งเอกสารราชการ เพื่อลดการใช้หมึกพิมพ์ ตามเอกสาร (GO-3.3.4-2)GO-3.3.4-1 การกำหนดรูปแบบการใช้

GO-3.3.4-2 การใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์
3.3.5 ร้อยละของการดำเนินตาม มาตรการประหยัดการใช้หมึกพิมพ์ อุปกรณ์เครื่องเขียน วัสดุ อุปกรณ์สำนักงาน (ประเมินจากพฤติกรรมของบุคลากรในพื้นที่)GO-3.3.5-1 แบบประเมินร้อยละของการปฏิบัติตามมาตรการมาตรการฯ

3.4 การประชุมและการจัดนิทรรศการ

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน
3.4.1 ร้อยละของการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ในการส่งข้อมูลเพื่อเตรียมการประชุม ได้แก่ QR code, Email, Social Network, Intranet เป็นต้น สำนักงานฯ มีการบันทึกข้อมูลการใช้ห้องประชุมและบันทึกการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ในการส่งข้อมูลเพื่อเตรียมการประชุม อาทิ การส่งลิงก์ห้องประชุมออนไลน์ การส่งกำหนดวาระการประชุมในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ ตามเอกสาร (GO-3.4.1-1)GO-3.4.1-1 ร้อยละของการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ในการส่งข้อมูลเพื่อเตรียมการประชุม
3.4.2 การจัดการประชุมและนิทรรศการที่มีการใช้วัสดุที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ลดการใช้ทรัพยากรพลังงาน และลดของเสียที่เกิดขึ้น จะต้องดำเนินการดังนี้

(1) การจัดเตรียมขนาดห้องประชุมเหมาะสมกับจำนวนผู้เข้าประชุมหรือจัดนิทรรศการ

(2) ห้องประชุมหรือพื้นที่จัดนิทรรศการไม่มีการตกแต่งด้วยวัสดุที่ย่อยสลายยาก หรือวัสดุที่ใช้ครั้งเดียวแล้วทิ้ง

(3) การกำหนดแนวทางเลือกสถานที่ภายนอกสำนักงานที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

(4) การจัดเตรียมสื่อที่ใช้ในการประชุม โดยจะต้องลดการใช้กระดาษ หมึกพิมพ์

(5) การจัดเตรียมอาหาร และเครื่องดื่มเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
สำนักงานฯ มีการกำหนดแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดประชุมและนิทรรศการ ตามเอกสาร (GO-3.4.2-1) แนวทางเลือกสถานที่ภายนอกสำนักงานที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (GO-3.4.2-2) (ซึ่งทางหมวด 6 เป็นผู้รับผิดชอบในการเลือกใช้บริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม) มีการจัดเตรียมขนาดห้องประชุมให้เหมาะกับจำนวนผู้เข้าร่วมประชุม มีระบบจัดเก็บข้อมูลการใช้ห้องประชุม ไม่มีการจัดซื้อวัสดุที่ย่อยสลายยาก หรือวัสดุที่ใช้ครั้งเดียวแล้วทิ้งเพิ่มเติมเพื่อนำมาตกแต่งห้องประชุม (GO-3.4.2-3) ใช้จอฉายภาพขนาดใหญ่และส่งเอกสารประกอบการประชุมในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์เพื่อลดการใช้กระดาษและหมึกพิมพ์ นอกจากนี้ การจัดเตรียมอาหาร และเครื่องดื่มเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เพื่อลดปริมาณของเสียที่เกิดขึ้น ตามเอกสาร (GO-3.4.2-4)GO-3.4.2-1 แนวทางปฏิบัติจัดประชุมนอกหน่วยงาน

GO-3.4.2-2 แนวปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดการประชุมและนิทรรศการ

GO-3.4.2-3 การจัดเตรียมขนาดห้องประชุม และไม่มีการตกแต่งด้วยวัสดุที่ย่อยสลายยาก

GO-3.4.2-4 การจัดเตรียมอาหารเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

4.1 การจัดการของเสีย

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน
4.1.1 มีการดำเนินงานตามแนวทางการคัดแยก รวบรวม และกำจัดขยะอย่างเหมาะสม มีแนวทางการดำเนินงาน ดังนี้

(1) มีการคัดแยกขยะตามประเภทขยะที่เกิดขึ้นจากกิจกรรมภายในสำนักงาน และจัดวางถังขยะตามพื้นที่ทำงานต่าง ๆ อย่างเหมาะสมทุกจุดที่สุ่มตรวจสอบ

(2) มีการติดป้ายบ่งชี้ประเภทขยะอย่างถูกต้องและชัดเจนทุกถังที่สุ่มตรวจสอบ

(3) มีจุดพักขยะที่เหมาะสมตามหลักวิชาการ โดยจะต้องมีพื้นที่รองรับขยะแต่ละประเภทจากข้อ (1) อย่างเพียงพอ

(4) มีการทิ้งขยะถูกต้องทุกจุดที่สุ่มตรวจสอบ

(5) มีการส่งขยะให้ อปท. หรือผู้รับจ้างที่ได้รับอนุญาตตามกฎหมาย

(6) มีการติดตาม ตรวจสอบการกำจัดขยะของผู้รับจ้างให้มีการจัดการอย่างเหมาะสมตามหลักวิชาการ (กรณีส่งให้ อปท.ให้ถือว่ามีการจัดการอย่างเหมาะสม)

(7) ไม่มีการเผาขยะในบริเวณหรือพื้นที่ของสำนักงาน (ยกเว้นเตาเผาที่ได้รับการอนุญาตอย่างถูกต้อง)
(1) มีการคัดแยกขยะตามประเภทขยะที่เกิดขึ้นจากกิจกรรมภายในสำนักงาน และจัดวางถังขยะตามพื้นที่ทำงานต่าง ๆ อย่างเหมาะสมทุกจุดที่สุ่มตรวจสอบ
สำนักหอสมุดกลาง มีการกำหนดและถ่ายทอดนโยบาย ประกาศ มาตรการประหยัดพลังงานและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม (ข้อ 3 มาตรการการจัดการขยะ) เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2566 (GO-4.1.1-1) โดยสำนักหอสมุดกลาง (นครปฐม) มีการดำเนินงาน ตามแนวทางการคัดแยก รวบรวม และกำจัดขยะอย่างเหมาะสม โดยการแบ่งประเภทของขยะออกเป็น 4 ประเภท ได้แก่ 1) ขยะทั่วไป 2) ขยะรีไซเคิล 3) ขยะอินทรีย์/ เปียก/ ย่อยสลายได้ 4) ขยะอันตราย พร้อมทั้งมีการแสดงชัดเจนในการแบ่งตามสีของถังขยะ สัญลักษณ์ และป้ายแสดงให้เห็นตัวอย่างของขยะแต่ละประเภท ดังนี้ (GO-4.1.1-2) สำนักหอสมุดกลาง (นครปฐม) ได้กำหนดเส้นทางการจัดการขยะแต่ละประเภทอย่างชัดเจน โดยมอบหมายให้พนักงานสถานที่ และแม่บ้าน มีหน้าที่รับผิดชอบคัดแยก ตรวจสอบ ชั่งน้ำหนักและบันทึกข้อมูลปริมาณขยะ/วัสดุแต่ละประเภทในแต่ละวัน แล้วจัดส่งข้อมูลปริมาณขยะเป็นรายเดือน (GO-4.1.1-3) ในการคัดแยกขยะ นักคอมพิวเตอร์ของสำนักหอสมุดกลางได้พัฒนาเว็บแอปพลิเคชันช่วยจำแนกประเภทขยะจากรูปภาพด้วยขั้นตอนวิธีการเรียนรู้เชิงลึกโดยใช้โครงข่ายประสาทเทียมแบบคอนโวลูชันที่ช่วยอำนวยความสะดวกในการคัดแยกขยะตามประเภทได้อย่างถูกต้องและรวดเร็วยิ่งขึ้น (GO-4.1.1-4) นอกจากนี้ นักคอมพิวเตอร์ยังได้มีการพัฒนาระบบการบันทึกข้อมูลปริมาณขยะในแต่ละวัน ผ่าน Microsoft Forms ข้อมูลที่นำเข้าสามารถนำมาสร้าง DASHBOARD ด้วย Microsoft Power BI เพื่อแสดงผลรายงานปริมาณน้ำหนักขยะได้ตามที่ต้องการ เช่น รายงานน้ำหนักขยะสะสม/น้ำหนักขยะแต่ละประเภทสะสม/น้ำหนักขยะจำแนกประเภทรายเดือน เป็นต้น (GO-4.1.1-5)


(2) มีการติดป้ายบ่งชี้ประเภทขยะอย่างถูกต้องและชัดเจนทุกถังที่สุ่มตรวจสอบ
มีการกำหนดจุดวางถังขยะทั้งในส่วนของสำนักงาน และพื้นที่บริการ ทั้ง 2 อาคาร และได้จัดทำป้ายบ่งชี้ประเภทขยะอย่างถูกต้องและชัดเจนทุกถัง เพื่อให้ง่ายต่อการจัดเก็บ และนำไปจัดการอย่างเหมาะสม (GO-4.1.1-6)


(3) มีจุดพักขยะที่เหมาะสมตามหลักวิชาการ โดยจะต้องมีพื้นที่รองรับขยะแต่ละประเภทจากข้อ (1) อย่างเพียงพอ
สำนักหอสมุดกลาง (นครปฐม) มีพื้นที่พักขยะทั่วไป อยู่บริเวณด้านหน้าของอาคารหอสมุด ซึ่งอยู่ในความดูแลของกองงานวิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร (GO-4.1.1-7) ส่วนขยะอินทรีย์/เปียก/ย่อยสลายได้ จะถูกนำไปเทที่ถังรักษ์โลก (จุดที่ทิ้งเศษอาหาร/ขยะอินทรีย์) (GO-4.1.1-8) ขยะรีไซเคิลจะถูกคัดแยกออกเป็น 2 ประเภท คือ ประเภทที่สามารถขายได้เช่น ขวดพลาสติก ขวดแก้ว กระป๋องอะลูมิเนียม กล่องกระดาษลัง เป็นต้น จะมีการรวบรวมเพื่อรอการจำหน่ายให้กับร้านรับซื้อของเก่าที่มีมาตรฐานได้รับใบอนุญาตให้ประกอบกิจการฯ เป็นไปตามพระราชบัญญัติควบคุมการขายทอดตลาดและค้าของเก่า พ.ศ. 2474 เป็นต้น ส่วนขยะรีไซเคิลประเภทที่ขายไม่ได้/หรือขยะกำพร้า เช่น ซองขนม โฟม ซองกล่องพลาสติก แก้วพลาสติก (แบบอ่อน) หลอดพลาสติก กล่องพลาสติก PET เป็นต้น จะมี ล้างทำความสะอาด/คัดแยกประเภท รวบรวมเพื่อส่งต่อ/บริจาคให้กับหน่วยงานอื่น ๆ เพื่อนำไปเป็นเชื้อเพลิง RDFs สำหรับผลิตกระแสไฟฟ้า บางส่วนส่งโครงการวน สำหรับรีไซเคิลพลาสติก ผลิตไบโอดีเซลเป็นเชื้อเพลิง เป็นต้น และขยะประเภทสิ่งของเหลือใช้ที่ยังสามารถใช้งานได้ เช่น ลอตเตอรี่เก่าจะรับบริจาคและรวบรวมจัดส่งไปยังวัดห้วยหมู จังหวัดราชบุรี เพื่อให้เด็กพิการทางสมองได้นำไปประดิษฐ์เป็นดอกไม้จันทน์ พวงหรีด หมวก และแจกันดอกไม้ จัดจำหน่ายให้กับผู้ที่ต้องการใช้ในการฌาปนกิจหรือผู้ที่สนใจ นอกจากจะเป็นการลดปริมาณขยะ/ส่งเสริมการรีไซเคิลแล้ว ยังช่วยให้มีรายได้มาพัฒนาและเป็นค่าใช้จ่ายภายในวัดอีกด้วย และขยะประเภทของเหลือใช้ในบ้านจะมีการเปิดรับบริจาคเพื่อส่งโครงการเหลือขอของบ้านนกขมิ้น เป็นทุนการศึกษาให้เด็กกำพร้าต่อไป (GO-4.1.1-9) ขยะอันตรายส่งไปกำจัดนอกพื้นที่อย่างเหมาะสมต่อไป
https://thainews.prd.go.th/thainews/news/view/665080/?bid=1


(4) มีการทิ้งขยะถูกต้องทุกจุดที่สุ่มตรวจสอบ
คณะกรรมการหมวด 4 ได้มีการสุ่มตรวจสอบการทิ้งขยะตาม ณ จุดทิ้งขยะ


(5) มีการส่งขยะให้ อปท. หรือผู้รับจ้างที่ได้รับอนุญาตตามกฎหมาย
สำนักหอสมุดกลาง (นครปฐม) มีการส่งต่อขยะทั่วไปและขยะอันตรายออกไปกำจัดนอกพื้นที่ ซึ่งดำเนินการขนย้าย โดยกองงานวิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ไปยังจุดพักขยะ มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ (GO-4.1.1-10) ก่อนส่งต่อให้ บริษัท พิชา-23 จำกัด มารับขยะไปกำจัดที่สถานที่กำจัดขยะมูลฝอย เทศบาลนครนครปฐมต่อไป (GO-4.1.1-11)


(6) มีการติดตาม ตรวจสอบการกำจัดขยะของผู้รับจ้างให้มีการจัดการอย่างเหมาะสมตามหลักวิชาการ (กรณีส่งให้ อปท.ให้ถือว่ามีการจัดการอย่างเหมาะสม)
บริษัท พิชา-23 จำกัด มารับขยะยังจุดพักขยะมหาวิทยาลัย ศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์


(7) ไม่มีการเผาขยะในบริเวณหรือพื้นที่ของสำนักงาน (ยกเว้นเตาเผาที่ได้รับการอนุญาตอย่างถูกต้อง)
สำนักหอสมุดกลาง (นครปฐม) ไม่มีการเผาขยะในบริเวณ หรือพื้นที่ของสำนักงาน
GO-4.1.1-1 ประกาศสำนักหอสมุดกลาง

GO-4.1.1-2 จุดคัดแยกขยะพร้อมป้ายบ่งชี้

GO-4.1.1-3 การคัดแยกขยะและบันทึกข้อมูลสถิติ

GO-4.1.1-4 เว็บแอปพลิเคชันช่วยจำแนกประเภทขยะจากรูปภาพด้วยขั้นตอนวิธีการเรียนรู้เชิงลึกโดยใช้โครงข่ายประสาทเทียมแบบคอนโวลูชัน

GO-4.1.1-5 การบันทึกขยะ โดยการกรอกข้อมูลผ่าน Microsoft Forms

GO-4.1.1-6 ป้ายบ่งชี้จุดทิ้งขยะ

GO-4.1.1-7 จุดพักขยะทั่วไปและจุดจัดส่งขยะ

GO-4.1.1-8 จุดที่ทิ้งขยะอินทรีย์/เปียก/ย่อยสลายได้

GO-4.1.1-9 ขยะรีไซเคิลแยกออกมารวบรวมเพื่อรอการจำหน่ายให้กับร้านรับซื้อของเก่า

GO-4.1.1-10 จุดพักขยะมหาวิทยาลัยศิลปากรวิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์

GO-4.1.1-11 เส้นทางการจัดการขยะ

4.1.2 การนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์ หรือนำกลับมาใช้ใหม่ ส่งผลให้ขยะที่จะส่งไปกำจัดมีปริมาณน้อยลง

(1) มีการนำขยะกลับมาใช้ใหม่

(2) มีการบันทึกข้อมูลปริมาณขยะแต่ละประเภทครบถ้วนทุกเดือน

(3) มีการวิเคราะห์ปริมาณขยะเทียบค่าเป้าหมายที่ได้กำหนดจากหมวด 1 ข้อ 1.1.5

(4) ปริมาณขยะที่ส่งกำจัดมีแนวโน้มลดลง
(1) มีการนำขยะกลับมาใช้ใหม่
สำนักหอสมุดกลาง (นครปฐม) ได้มีการจัดเก็บคัดแยกขยะ และนำขยะบางประเภทกลับมาใช้ประโยชน์ และนำกลับมาใช้ใหม่ (GO-4.1.2-1) ส่งผลให้ขยะที่จะส่งไปกำจัดมีปริมาณน้อยลง ดังนี้
1. นำเศษอาหารจากการรับประทานของบุคลากรไป
ทิ้งที่ถังรักษ์โลก (จุดทิ้งเศษอาหาร) เพื่อเป็นปุ๋ยบำรุงดินต่อไป
2. กิจกรรม DIY นำขวดและฝาพลาสติกมาประดิษฐ์เป็นแจกันใส่ต้นไม้วางตามจุดต่าง ๆ ภายในห้องสมุด เพื่อเพิ่มบรรยากาศให้ดูเป็นธรรมชาติ สวยงาม และดูดซับสารพิษได้
3. กิจกรรม Upcycling เพิ่มมูลค่าขยะโดยการนำฝาขวดพลาสติกจากกระบวนการคัดแยกขยะ มาจัดทำเป็นพวงกุญแจ Limited Edition
4. กิจกรรมเปลี่ยนขยะอินทรีย์ประเภทกิ่งไม้ใบไม้แห้ง/สด บริเวณรอบอาคารฯ นำมาทำปุ๋ยหมัก
5. กิจกรรมนำน้ำดื่มที่เหลือจากการบริโภคของบุคลากรและผู้ใช้บริการไปรดต้นไม้


(2) มีการบันทึกข้อมูลปริมาณขยะแต่ละประเภทครบถ้วนทุกเดือน
การบันทึกข้อมูลปริมาณขยะในแต่ละวัน ผ่าน Microsoft Forms (GO-4.1.2-2) ข้อมูลที่นำเข้าสามารถนำมาสร้าง DASHBOARD ด้วย Microsoft Power BI เพื่อแสดงผลรายงานปริมาณน้ำหนักขยะได้ตามที่ต้องการ เช่น รายงานน้ำหนักขยะจำแนกประเภทเป็นรายเดือน เป็นต้น (GO-4.1.2-3)


(3) มีการวิเคราะห์ปริมาณขยะเทียบค่าเป้าหมายที่ได้กำหนดจากหมวด 1 ข้อ 1.1.5
สำนักหอสมุดกลาง ได้จัดทำประกาศสำนักหอสมุดกลาง เรื่อง กำหนดเป้าหมายการจัดการพลังงานและการใช้ทรัพยากร ประจำปี พ.ศ. 2567 (GO-4.1.2-4) คือ ลดปริมาณของขยะลดลงจากค่าเฉลี่ย 6 เดือนแรก ปี พ.ศ. 2567 ร้อยละ 5 นั้น แต่เนื่องจาก สำนักหอสมุดกลาง (นครปฐม) ได้เริ่มจดบันทึกข้อมูลปริมาณขยะตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2567 จนถึงปัจจุบัน ทำให้ไม่สามารถคำนวณหาค่าเปรียบเทียบปริมาณขยะช่วง 6 เดือนแรกของปี พ.ศ. 2567 ได้


(4) ปริมาณขยะที่ส่งกำจัดมีแนวโน้มลดลง
GO-4.1.2-1 การนำขยะกลับมาใช้ใหม่

GO-4.1.2-2 การบันทึกข้อมูลปริมาณขยะ

GO-4.1.2-3 สรุปข้อมูลปริมาณขยะรายเดือน

GO-4.1.2-4 ประกาศสำนักหอสมุดกลาง

4.2 การจัดการน้ำเสีย

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน
4.2.1 การจัดการน้ำเสียของสำนักงาน และคุณภาพน้ำทิ้งจะต้องอยู่ในมาตรฐานกฎหมายที่เกี่ยวข้อง โดยมีแนวทางดังนี้

(1) การกำหนดผู้รับผิดชอบดูแลการจัดการน้ำเสีย และจะต้องมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแล

(2) มีการบำบัดน้ำเสียอย่างเหมาะสม และมีประสิทธิภาพ เช่น มีตะแกรง ดักเศษอาหาร มีบ่อดักไขมัน หรือมีระบบบำบัดน้ำเสียเหมาะสมกับองค์ประกอบของน้ำเสีย

(3) มีการบำบัดน้ำเสียครบทุกจุดที่ปล่อยน้ำเสีย

(4) มีผลการตรวจสอบคุณภาพน้ำทิ้งที่อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานตามที่กฎหมายกำหนด
(1) การกำหนดผู้รับผิดชอบดูแลการจัดการน้ำเสีย และจะต้องมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแล
สำนักหอสมุดกลาง (นครปฐม) มีการกำหนดแผนงานและมาตรการด้านการบำบัดน้ำเสีย และผู้รับผิดชอบ (GO-4.2.1-1) (GO-4.2.1-2) ตามแผนพัฒนาห้องสมุดสีเขียว ประจำปี พ.ศ. 2567 (GO-4.2.1-3)


(2) มีการบำบัดน้ำเสียอย่างเหมาะสม และมีประสิทธิภาพ เช่น มีตะแกรง ดักเศษอาหาร มีบ่อดักไขมัน หรือมีระบบบำบัดน้ำเสียเหมาะสมกับองค์ประกอบของน้ำเสีย
มีการติดตั้งถังดักไขมันตามจุดซึ่งจะเป็นที่ที่บุคลากรใช้ชำระล้างภาชนะ ทั้งหมด 4 จุด ได้แก่ ห้องเตรียมอาหารสำนักงานสำนักหอสมุดกลาง (2 จุด) ห้องเตรียมอาหารอาคารหอสมุดพระราชวังสนามจันทร์ 1 จุด และ ร้านเครื่องดื่มและอาหารว่างที่อาคารหอสมุดพระราชวังสนามจันทร์ 1 จุด (GO-4.2.1-4) มีการมอบหมายให้พนักงานสถานที่ แม่บ้านและเจ้าของร้านเครื่องดื่มฯ ดำเนินการตักไขมัน และล้างถังดักไขมันทุกสัปดาห์ เพื่อดูแลรักษาอุปกรณ์และเป็นการตรวจสอบคุณภาพน้ำก่อนทิ้งลงบ่อบำบัดน้ำเสียของอาคารและปล่อยลงสู่แหล่งน้ำธรรมชาติ (GO-4.2.1-5)


(3) มีการบำบัดน้ำเสียครบทุกจุดที่ปล่อยน้ำเสีย
มีการนำน้ำเสียจากอาคารลงสู่ท่อระบายยน้ำของมหาวิทยาลัย เป็นระบบส่วนกลางส่งน้ำไปบำบัดที่บ่อบำบัดของมหาวิทยาลัยศิลปากร
สำนักหอสมุดกลาง (นครปฐม)


(4) มีผลการตรวจสอบคุณภาพน้ำทิ้งที่อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานตามที่กฎหมายกำหนด
สำนักหอสมุดกลาง (นครปฐม) มีการประสานกับคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร เพื่อขอผลวิเคราะห์น้ำจากบ่อบำบัดของมหาวิทยาลัยศิลปากร (ใช้บ่อบำบัดเดียวกัน) ซึ่งคณะเภสัชศาสตร์ได้ส่งตรวจสอบโดยภาควิชาวิทยาศาสตร์และสิ่งแวดล้อม คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร (GO-4.2.1-6)
GO-4.2.1-1 คำสั่งสำนักหอสมุดกลาง

GO-4.2.1-2 คำสั่งสำนักหอสมุดกลาง

GO-4.2.1-3 แผนพัฒนาห้องสมุดสีเขียว ประจำปี พ.ศ. 2567

GO-4.2.1-4 ถังดักไขมัน

GO-4.2.1-5 บ่อบำบัดของมหาวิทยาลัยศิลปากร

GO-4.2.1-6 ผลวิเคราะห์น้ำจากบ่อบำบัดของมหาวิทยาลัยศิลปากร
4.2.2 การดูแลอุปกรณ์บำบัดน้ำเสีย โดยมีแนวทางดังนี้

(1) มีการดูแลระบบบำบัดน้ำเสีย หรือมีการตักและทำความสะอาดเศษอาหาร และไขมันออกจากตะแกรงดักขยะหรือบ่อดักไขมัน ตามความถี่ที่กำหนดอย่างเหมาะสมกับปริมาณและการปนเปื้อน

(2) มีการนำกากตะกอนจากระบบบำบัดน้ำเสียหรือเศษอาหาร น้ำมันและไขมันจากถัง/บ่อดักไขมันไปกำจัดอย่างถูกต้อง

(3) มีการตรวจสอบ ปรับปรุง ซ่อมแซมระบบบำบัดน้ำเสียให้สามารถใช้งาน และมีประสิทธิภาพอยู่เสมอ

(4) มีการตรวจสอบการรั่วไหลของน้ำเสียอย่างสม่ำเสมอเพื่อป้องกันการปนเปื้อนของน้ำเสียไปยังแหล่งอื่นๆ
(1) มีการดูแลระบบบำบัดน้ำเสีย หรือมีการตักและทำความสะอาดเศษอาหาร และไขมันออกจากตะแกรงดักขยะหรือบ่อดักไขมัน ตามความถี่ที่กำหนดอย่างเหมาะสมกับปริมาณและการปนเปื้อน
สำนักหอสมุดกลาง (นครปฐม) มีการดูแลถังดักไขมัน โดยการมอบหมายให้พนักงานสถานที่ แม่บ้าน และเจ้าของกิจการ/ร้านค้าฯ ดำเนินการตักไขมัน และล้างถังดักไขมันทุกสัปดาห์ เพื่อดูแลรักษาอุปกรณ์และเป็นการตรวจสอบคุณภาพน้ำก่อนทิ้งลงบ่อบำบัดน้ำเสียของอาคารและปล่อยลงสู่แหล่งน้ำธรรมชาติ (GO-4.2.2-2)


(2) มีการนำกากตะกอนจากระบบบำบัดน้ำเสียหรือเศษอาหาร น้ำมันและไขมันจากถัง/บ่อดักไขมันไปกำจัดอย่างถูกต้อง
สำนักหอสมุดกลาง (นครปฐม) มีการคัดแยกเศษอาหารก่อนนำไปชะล้าง โดยจะนำเศษอาหารในแต่ละวันไปชั่งน้ำหนัก และหลังจากนั้นจะนำไปทิ้งที่ถังรักษ์โลก (จุดที่ทิ้งเศษอาหาร) เพื่อเป็นปุ๋ยแก่ดินต่อไป (GO-4.2.2-2)


(3) มีการตรวจสอบ ปรับปรุง ซ่อมแซมระบบบำบัดน้ำเสียให้สามารถใช้งาน และมีประสิทธิภาพอยู่เสมอ
นอกจากนี้ ยังมีการตรวจสอบ ปรับปรุง ซ่อมแซม ระบบบำบัดน้ำเสียให้สามารถใช้งานและมีประสิทธิภาพอยู่เสมอๆ (GO-4.2.2-3)


(4) มีการตรวจสอบการรั่วไหลของน้ำเสียอย่างสม่ำเสมอเพื่อป้องกันการปนเปื้อนของน้ำเสียไปยังแหล่งอื่นๆ
มีการตรวจสอบการรั่วไหลของน้ำเสียอย่าสม่ำเสมอเพื่อป้องกันการปนเปื้อนของน้ำเสียไปยังแหล่งอื่น ๆ (GO-4.2.2-4)
GO-4.2.2-1 การตักไขมัน ตลอดจนการทำความสะอาดถังดักไขมัน

GO-4.2.2-2 การแยกเศษอาหารก่อนการชำระล้าง และนำเศษอาหารเป็นปุ๋ยแก่ดิน

GO-4.2.2-3 การตรวจสอบ ปรับปรุง ซ่อมแซมระบบบำบัดน้ำเสีย

GO-4.2.2-4 การตรวจสอบการรั่วไหลของน้ำเสีย

5.1 อากาศในสำนักงาน

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน
5.1.1 การควบคุมมลพิษทางอากาศในสำนักงาน

(1) มีแผนการดูแลบำรุงรักษา ได้แก่ เครื่องปรับอากาศ เครื่องถ่ายเอกสาร เครื่องพิมพ์เอกสาร (Printer) พรมปูพื้นห้อง (ขึ้นอยู่กับสำนักงาน)

(2) มีการกำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบตามแผนการดูแลบำรุงรักษา

(3) มีการปฏิบัติตามแผนที่กำหนดใน ข้อ 1

(4) มีการควบคุมมลพิษทางอากาศจากการปฏิบัติในข้อ 1

(5) การจัดวางเครื่องพิมพ์เอกสาร เครื่องถ่ายเอกสาร (Printer) ให้ห่างไกลผู้ปฏิบัติงาน

(6) การควบคุมควันไอเสียรถยนต์บริเวณสำนักงาน เช่น ติดป้ายดับเครื่องยนต์

(7) การป้องกันอันตรายจากการพ่นยากำจัดแมลง (ถ้ามี)

(8) มีการสื่อสารหรือแจ้งให้ทราบถึงการเกิดมลพิษทางอากาศจากกิจกรรม ต่าง ๆ เพื่อการเตรียมความพร้อม และระวังการได้รับอันตราย
ฝ่ายหอสมุดฯ ได้จัดทำแผนและกำหนดผู้รับผิดชอบในการดูแลรักษาเครื่องปรับอากาศ เครื่องพิมพ์เอกสาร (Printer) และพรมปูพื้น เพื่อการควบคุม ดูแลป้องกันมลพิษทางอากาศของสำนักงาน (5.1.1-1.1_SUS) โดยกำหนดหน้าที่ผู้รับผิดชอบในการดูแลรักษาความรับผิดชอบเครื่องปรับอากาศ เครื่องถ่ายเอกสาร พรมปูพื้น และผ้าม่าน (5.1.1-1.2_SUS) และได้ปฏิบัติงานตามแผน (5.1.1-1.3_SUS)

มีการควบคุมมลพิษทางอากาศจากการปฏิบัติในข้อ 1 โดยจัดทำประกาศมาตรควบคุมมลพิษทางอากาศในสำนักงาน (5.1.1-1.4_SUS) ให้หน.หอสมุดฯ รับทราบ+เสนอรอง.เต้ย ลงนาม

ฝ่ายหอสมุดฯจัดวางตำแหน่งเครื่อง เครื่องปริ้นเตอร์ ให้มีระยะห่างจากผู้ปฏิบัติงาน (5.1.1-1.5_SUS) รูปเครื่องพิมพ์เอกสารจากมุมโต๊ะปฏิบัติงานเจ้าหน้าที่) นอกจากนั้นยังมีการควบคุมมลพิษทางอากาศบริเวณรอบฝ่ายหอสมุดวังท่าพระ โดยมีการติดตั้งป้ายด้านข้างฝ่ายหอสมุดฯ บริเวณด้านข้างอาคารฯ เพื่อป้องกันไอเสียจากรถยนต์ (5.1.1-1.6_SUS) ประสานงานกับหมวด 2

มีการป้องกันและกำจัดแมลงที่จะสร้างมลพิษ อากาศภายในสำนักงาน (5.1.1-1.7_SUS) อีกทั้งยังมีการส่งเสริมให้บุคลากรตระหนักและทราบถึงปัญหามลพิษทางอากาศที่อาจเกิดจากกิจกรรมต่างๆ เพื่อเตรียมความพร้อมป้องกันและระวังอันตรายที่อาจเกิดขึ้น (5.1.1-1.8_SUS) หมวด 2 รณรงค์?
5.1.1-1.1_SUS

5.1.1-1.2_SUS

5.1.1-3.1_SUS

5.1.1-4.1_SUS

5.1.1-5.1_SUS

5.1.1-6.1_SUS

5.1.1-7.1_SUS

5.1.1-8.1_SUS
5.1.2 มีการรณรงค์ไม่สูบบุหรี่หรือมี การกำหนดพื้นที่สูบบุหรี่ที่เหมาะสม และปฏิบัติตามที่กำหนด

(1) มีการรณรงค์การไม่สูบบุหรี่

(2) มีการติดสัญลักษณ์เขตปลอดบุหรี่

(3) มีการติดสัญลักษณ์เขตสูบบุหรี่

(4) เขตสูบบุหรี่จะต้องไม่อยู่ในบริเวณที่ก่อให้เกิดความเดือดร้อนรำคาญแก่ ประชาชนที่อยู่บริเวณข้างเคียง ไม่อยู่ในบริเวณทางเข้า – ออกของ สถานที่ที่ให้มีการคุ้มครองสุขภาพของผู้ไม่สูบบุหรี่ และไม่อยู่ในบริเวณที่เปิดเผยอันเป็นที่เห็นได้ชัดแก่ผู้มาใช้สถานที่นั้น

(5) ไม่พบการสูบบุหรี่หรือก้นบุหรี่นอกเขตสูบบุหรี่
ฝ่ายหอสมุดฯ มีการรณรงค์ไม่สูบบุหรี่ทั้งภายในและภายนอกอาคาร (5.1.2-1.1_SUS) และมีการติดตั้งป้ายห้ามสูบบุหรี่หรือสัญลักษณ์เขตปลอดบุหรี่ ทั้งภายในและภายนอกจำนวน X จุด (5.1.2-2.1_SUS) ดังนี้

1. ห้องน้ำชาย ห้องน้ำหญิงภายในอาคาร
2. บริเวณ…
3. บริเวณ…
4. บริเวณ…
5.1.2-1.1_SUS

5.1.2-2.1_SUS

5.1.2-3.1_SUS

5.1.2-4.1_SUS

5.1.2-5.1_SUS
5.1.3 การจัดการมลพิษทางอากาศ จากการก่อสร้าง ปรับปรุง อาคารหรือ อื่น ๆ ในสำนักงานที่ส่งผลต่อพนักงาน

(1) กำหนดมาตรการรองรับเพื่อจัดการมลพิษทางอากาศจากการก่อสร้าง ปรับปรุงอาคาร

(2) ปฏิบัติตามมาตรการที่ได้กำหนดใน ข้อ (1)

แนวทางการกำหนดมาตรการมีดังนี้

– มีพื้นที่ทำงานสำรองให้กับพนักงาน

– มีที่กั้นเพื่อป้องกันมลพิษทางอากาศที่จะส่งผลกระทบกับพนักงานหรือผู้ที่เกี่ยวข้อง

– มีการสื่อสารหรือติดป้ายแจ้งเตือน เพื่อการเตรียมความพร้อมและระวังการได้รับอันตราย
ฝ่ายหอสมุดฯ มีการจัดการมลพิษทางอากาศจากการก่อสร้าง ปรับปรุง อาคารหรืออื่นๆ ในสำนักงานที่ส่งผลต่อพนักงาน โดยจัดทำมาตรการควบคุมการปฏิบัติงานของผู้รับจ้าง ผู้รับเหมา ด้านสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัยด้านมลพิษทางอากาศ ฝุ่นละออง เสียง และสุขภาพ ลงวันที่ ว ด ป หน้า x (5.1.2-1.1_SUS) ซึ่งในปี พ.ศ. 2567 ฝ่ายหอสมุดฯ มีการก่อสร้างปรับปรุงอาคาร หรืออื่น ๆ ในสำนักงาน แต่ไม่ส่งผลกระทบต่อพนักงาน5.1.3-1.1_SUS

5.1.3-2.1_SUS

5.2 แสงในสำนักงาน

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน
5.2.1 มีการตรวจวัดความเข้มของแสงสว่าง (โดยอุปกรณ์การตรวจวัด ความเข้มของแสงสว่างที่ได้มาตรฐาน) และดำเนินการแก้ไขตามที่มาตรฐานกำหนด

(1) มีการตรวจวัดความเข้มของแสงสว่างประจำปี พร้อมแสดงหลักฐานผลการตรวจวัดความเข้มของแสงสว่าง เฉพาะจุดทำงานแลพื้นที่ทำงาน

(2) เครื่องวัดความเข้มของแสงสว่าง จะต้องมีมาตรฐานและได้รับการสอบเทียบ (แสดงหลักฐานใบรับรอง)

(3) ผลการตรวจวัดจะต้องเป็นไปตามมาตรฐานกฎหมายกำหนด

(4) ผู้ที่ตรวจวัดความเข้มของแสงสว่างจะต้องเป็นไปตามที่กฎหมายกำหนด
5.2.1-1.1_SUS

5.2.1-2.1_SUS

5.2.1-3.1_SUS

5.2.1-3.2_SUS

5.2.1-4.1_SUS

5.3 เสียง

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน
5.3.1 การควบคุมมลพิษทางเสียงภายในอาคารสำนักงาน

(1) กำหนดมาตรการรองรับเพื่อจัดการ เสียงดังที่มาจากภายในสำนักงาน

(2) ปฏิบัติตามมาตรการที่ได้กำหนดใน ข้อ (1) ถ้าพบว่ามีเสียงดังที่มาจากภายในสำนักงาน
เนื่องจากมหาวิทยาลัยเป็นสถานศึกษาจึงยังไม่พบกิจกรรมภายในมหาวิทยาลัยที่ก่อให้เกิดเสียงดังที่เกินกำหนด
แต่ได้มีการจัดทำประกาศ เรื่อง มาตรการควบคุมมลพิษทางอากาศและเสียง เพื่อควบคุมเสียงดังทั้งภายในและภายนอกสำนักงาน ที่อาจเกิดจากการใช้สถานที่ หรือการจัดกิจกรรมใด ๆ เพื่อให้มีแนวปฏิบัติที่ชัดเจน อย่างเคร่งครัด (5.3.1-1.1_SUS)
5.3.1-1.1_SUS

5.3.1-1.2_SUS

5.3.1-1.3_SUS

5.3.1-1.4_SUS

5.3.1-2.1_SUS
5.3.2 การจัดการเสียงดังจากการ ก่อสร้าง ปรับปรุงอาคารหรืออื่น ๆ ในสำนักงานที่ส่งผลต่อพนักงาน

(1) กำหนดมาตรการรองรับเพื่อจัดการเสียงดังที่เกิดจากการก่อสร้าง ปรับปรุงอาคาร

(2) ปฏิบัติตามมาตรการที่ได้กำหนดใน ข้อ (1) แนวทางการกำหนดมาตรการมีดังนี้

– มีพื้นที่ทำงานสำรองให้กับพนักงาน

– มีการสื่อสารหรือติดป้ายแจ้งเตือน เพื่อการเตรียมความพร้อมและระวังการได้รับอันตราย
เนื่องจากมหาวิทยาลัยเป็นสถานศึกษาจึงยังไม่พบกิจกรรมภายในมหาวิทยาลัยที่ก่อให้เกิดเสียงดังที่เกินกำหนด
แต่ได้มีการจัดทำประกาศ เรื่อง มาตรการควบคุมมลพิษทางอากาศและเสียง เพื่อควบคุมเสียงดังทั้งภายในและภายนอกสำนักงาน ที่อาจเกิดจากการใช้สถานที่ หรือการจัดกิจกรรมใด ๆ เพื่อให้มีแนวปฏิบัติที่ชัดเจน อย่างเคร่งครัด (5.3.2-1.1_SUS)
5.3.2-1.1_SUS

5.3.2-1.2_SUS

5.4 ความน่าอยู่

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน
5.4.1 มีการวางแผนจัดการความน่า อยู่ของสำนักงานโดยจะต้องดำเนินการ ดังนี้

(1) จัดทำแผนผังของสำนักงานทั้งในตัวอาคารและนอกอาคาร โดยจะต้องกำหนดพื้นที่ใช้งานอย่างชัดเจน เช่น พื้น่พักผ่อนหย่อนใจ พื้นที่สีเขียว พื้นที่ส่วนรวม และพื้นที่ทำงาน เป็น ต้น สามารถสื่อสารด้วยป้ายหรือ อื่นๆ ที่เหมาะสมเพื่อบ่งชี้

(2) มีการกำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบอย่างเหมาะสมทั้งพื้นที่เฉพาะและพื้นที่ทั่วไป ทั้งในอาคารและนอกอาคาร

(3) มีการกำหนดเวลาในการดูแลรักษา ความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อย ทั้งพื้นที่เฉพาะและพื้นที่ทั่วไป ทั้งในอาคารและนอกอาคาร

(4) การกำหนดแผนงานการเพิ่มพื้นที่สีเขียว และคงรักษาไว้ของสำนักงาน รวมไปถึงมีการปฏิบัติจริงตามแผนงาน
ฝ่ายหอสมุดฯ (5.4.1-1.1_SUS) มีการวางแผนจัดการความน่าอยู่ของสำนักงาน โดยมีการจัดทำแผนผังของสำนักงาน
ทั้งในตัวอาคารและนอกอาคารโดยกำหนดพื้นที่ใช้งานอย่างชัดเจน เช่น พื้นที่พักผ่อนหย่อนใจ พื้นที่สีเขียว พื้นที่ส่วนรวม พื้นที่ทำงาน และพื้นที่บริการ มีการจัดทำป้าย มีการกำหนดความรับผิดชอบ อย่างเหมาะสมทั้งพื้นที่เฉพาะ และพื้นที่ทั่วไปทั้งในอาคารและนอกอาคาร มีการกำหนดเวลาในการดูแลรักษา ความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อย ทั้งพื้นที่เฉพาะและพื้นที่ทั่วไป ทั้งในอาคารและนอกอาคาร มีการกำหนดแผนงานการเพิ่มพื้นที่สีเขียว และคงรักษาไว้ของสำนักงาน รวมถึงมีการปฏิบัติงานจริง
5.4.1-1.1_SUS

5.4.1-2.2_SUS

5.4.1-2.1_SUS

5.4.1-3.1_SUS

5.4.1-4.1_SUS
5.4.2 ร้อยละการใช้สอยพื้นที่เป็นไป ตามวัตถุประสงค์ที่สำนักงานกำหนด ฝ่ายหอสมุดฯ มีการใช้สอยและพื้นที่ต่าง ๆ ตามวัตถุประสงค์ที่สำนักงานกำหนดร้อยละ 100 (5.4.2-1.1_SUS)5.4.2-1.1_SUS

5.4.3 ร้อยละการดูแลบำรุงรักษา พื้นที่ต่าง ๆ เช่น พื้นที่สีเขียว พื้นที่ พักผ่อนหย่อนใจ พื้นที่ส่วนกลาง และพื้นที่ทำงาน เป็นต้น
ฝ่ายหอสมุดฯ มีการกำหนดแผนการดูแล บำรุงรักษาพื้นที่ต่าง ๆ ภายในหน่วยงานให้กับบุคลากร ร้อยละ 100 โดยกำหนดให้บุคลากรประจำชั้นในพื้นที่ และแม่บ้านเป็นผู้รับผิดชอบดูแลตามแผนการดูแลพื้นที่สำนักงาน การดูแลบำรุงรักษาพื้นที่ต่าง ๆ เช่น พื้นที่สีเขียว พื้นที่พักผ่อนหย่อนใจ พื้นที่ส่วนกลาง และพื้นที่ทำงาน ตามมาตรการเพิ่มพื้นที่สีเขียว (5.4.3-1.1_SUS)5.4.3-1.1_SUS
5.4.4 มีการควบคุมสัตว์พาหะนำโรค และดำเนินการได้ตามที่กำหนด

(1) มีการกำหนดแนวทางการป้องกันสัตว์พาหะนำโรคในสำนักงานอย่างเหมาะสม ได้แก่ นกพิราบ หนู แมลงสาบ และอื่นๆ

(2) มีการกำหนดความถี่ในการตรวจสอบร่องรอยสัตว์พาหะนำโรค อย่างน้อยที่สุดเดือนละ 1 ครั้ง

(3) มีการตรวจสอบร่องรอยตามความถี่ที่ได้กำหนด (เฉพาะตอนกลางวัน)

(4) มีแนวทางที่เหมาะสมกับการจัดการเมื่อพบร่องรอยสัตว์พาหะนำโรค

(5) ไม่พบร่องรอยหรือสัตว์พาหะนำโรคในระหว่างการตรวจประเมิน
ฝ่ายหอสมุดฯ มีการกำหนดแนวทางในการป้องกันและกำจัดสัตว์พาหะนำโรค โดยกำหนดเป็นแผนควบคุมสัตว์พาหะนำโรค ประจำปี พ.ศ 2567 (5.4.4-1.1_SUS) ซึ่งมอบหมายผู้รับผิดชอบในการป้องกันและกำจัด ตามแผน (5.4.2-2.1_SUS) พร้อมทั้งจัดทำแบบฟอร์มตรวจสอบร่องรอยของสัตว์พาหะนำโรคทุกเดือน (5.4.2-3.1_SUS)

ซึ่งจากการตรวจสอบพบว่า สัตว์พาหะนำโรคส่วนใหญ่
ที่พบเจอเป็นนกพิราบ หนู แมลงวัน ดังนั้นทางฝ่ายหอสมุดฯ ได้มีแนวทางที่เหมาะสมกับการจัดการเมื่อพบร่องรอยสัตว์พาหะนำโรค ดังนี้

1. ปลวก เรียกบริษัทกำจัดโดยใช้น้ำยาที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

2. หนู กำจัดหนูโดยใช้กับดัก และนำไปปล่อยกับคืนสู่ธรรมชาติ

3. นก ทำความสะอาดมูลนกโดยการกวาด/ใช้น้ำฉีด (5.4.2-4.1_SUS)
5.4.4-1.1_SUS

5.4.4-2.1_SUS

5.4.4-3.1_SUS

5.4.4-4.1_SUS

5.5 การเตรียมพร้อมต่อสภาวะฉุกเฉิน

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน
5.5.1 การอบรมฝึกซ้อมดับเพลิงและอพยพหนีไฟตามแผนที่กำหนด

(1) มีการกำหนดแผนการฝึกอบรมและ อพยพหนีไฟ

(2) จำนวนคนเข้าอบรมฝึกซ้อมดับเพลิง ขั้นต้นจะต้องไม่ต่ำกว่าร้อยละ 40 ของพนักงานแต่ละแผนกหรือส่วนงาน

(3) พนักงานทุกคนจะต้องเข้าฝึกซ้อม อพยพหนีไฟ อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง (พิจารณาพนักงานหรือผูปฏิบัติงาน ทุกคนที่อยู่ประจำพื้นที่สำนักงานที่มี การฝึกซ้อมเท่านั้น) (4) มีการอบรมดับเพลิงขั้นต้นตามแผนที่กำหนด พร้อมแสดงหลักฐาน เช่น ใบรับรองการอบรม ภาพถ่าย เป็นต้น

(5) มีการฝึกซ้อมอพยพตามแผนที่กำหนด พร้อมแสดงหลักฐาน เช่น ใบรับรอง ภาพถ่าย เป็นต้น

(6) มีการกำหนดจุดรวมพลที่สามารถรองรับได้ พร้อมมีป้ายแสดงอย่าง ชัดเจน

(7) มีการกำหนดเส้นทางหนีไฟ ธงนำ ทางหนีไฟ ไปยังจุดรวมพล พร้อมสื่อสารในพื้นที่ปฏิบัติงาน

(8) มีการกำหนดทางออกฉุกเฉิน ทางหนีไฟ พร้อมมีป้ายแสดงอย่าง ชัดเจน
ฝ่ายหอสมุดฯ มีการจัดทำแผนฝึกอบรมประจำปี 2567 เพื่อเตรียมความพร้อมสำหรับระงับเหตุฉุกเฉินต่าง ๆ ที่อาจจะเกิดขึ้น เพื่อเตรียมพร้อมต่อสภาวะฉุกเฉิน เมื่อวันที่วันที่ 17 มิถุนายน 2567 (5.5.1-1.1_SUS)5.5.1-1.1_SUS

5.5.1-(2-5)_SUS

5.5.1-6.1_SUS

5.5.1-7.1_SUS

5.5.1-8.1_SUS
5.5.2 มีแผนฉุกเฉินที่เป็นปัจจุบันและเหมาะสม และร้อยละของพนักงานที่เข้าใจแผนฉุกเฉิน (สุ่มสอบถามอย่างน้อย 4 คน)ฝ่ายหอสมุดฯ ได้จัดทำแผนระงับเหตุฉุกเฉินเพื่อป้องกันและเตรียมพร้อมต่อการเกิดเหตุฉุกเฉินต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้น (5.5.2-1.1_SUS)5.5.2-1.1_SUS
5.5.3 ความเพียงพอและการพร้อมใช้งานของอุปกรณ์ระบบดับเพลิงและป้องกันอัคคีภัย และระบบสัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้ และร้อยละของพนักงาน ทราบวิธีการใช้และตรวจสอบอุปกรณ์ ดังกล่าว (สุ่มสอบถามอย่างน้อย 4 คน)

(1) มีการติดตั้งและเตรียมอุปกรณ์ดับเพลิง

– ถังดับเพลิงมีเพียงพอต่อการใช้งาน (กำหนดระยะห่าง อย่างน้อย 20 เมตร/ถัง ตามกฎหมาย ติดตั้งสูงจากพื้นไม่เกิน 150 เซนติเมตรนับ จากคันบีบ และถ้าเป็นวางกับพื้น จะต้องมีฐานรองรับ) พร้อมกับติด ป้ายแสดง

– ติดตั้งระบบเครื่องสูบน้ำดับเพลิง (ถ้ามี)

– สายฉีดน้ำดับเพลิงและตู้เก็บสาย ฉีด (Hose and Hose Station) (ถ้ามี)

(2) ติดตั้งระบบสัญญาณแจ้งเตือนและต้องพร้อมใช้งาน

– สัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้ (พื้นที่มากกว่า 300 ตารางเมตรหรืออาคารสูงเกิน 2 ชั้นขึ้นไป)

– ติดตั้งตัวดักจับควัน (smoke detector) หรือตัวตรวจจับความร้อน (heat detector)

(3) มีการตรวจสอบข้อ (1) – (2) และ หากพบว่าชำรุดจะต้องดำเนินการ แจ้งซ่อมและแก้ไข

(4) พนักงานจะต้องเข้าใจถึงวิธีการใช้ และตรวจสอบอุปกรณ์ดับเพลิงและ สัญญาณแจ้งเตือน อย่างน้อยร้อยละ 75 จากที่สุ่มสอบถาม

(5) ไม่มีสิ่งกีดขวางอุปกรณ์ดับเพลิง และสัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้
ฝ่ายหอสมุดฯ ติดตั้งอุปกรณ์สำหรับป้องกันเหตุฉุกเฉินด้านอัคคีภัย ได้แก่

1. ถังดับเพลิงชนิดผงเคมีแห้ง ติดตั้งภายในอาคาร จำนวน x ถัง (5.5.3-1.1_SUS)
2. ระบบสัญญาณแจ้งเตือน
  2.1 สัญญาณแจ้งเหตุฉุกเฉินจำนวน 1 ระบบ (5.5.3-2.1_SUS)
  2.2 เครื่องตรวจจับควันจำนวน 1 ระบบ (5.5.3-2.2_SUS)
3. โดยอุปกรณ์ต่าง ๆ ได้มีการตรวจเช็คเพื่อเตรียมความพร้อมใช้ ทุก 2 เดือน ลงในแบบฟอร์มบันทึกการตรวจอุปกรณ์ด้านอัคคีภัย (5.5.3-3.1_SUS) โดยมอบหมายให้นาย มีหน้าที่รับผิดชอบตรวจสอบอุปกรณ์
4. บุคลากรของฝ่ายหอสมุดฯ ผ่านการอบรมดับเพลิงเบื้องต้น รวมถึงสามารถใช้อุปกรณ์ป้องกันการเกิดอัคคีภัยได้ (5.5.3-4.1_SUS)
5. มีการตรวจเช็คสิ่งกีดขวางการเข้าถึงอุปกรณ์ป้องกันอัคคีภัย ตามแบบฟอร์มการตรวจอุปกรณ์ป้องกันอัคคีภัย (5.5.3-5.1_SUS)
5.5.3-1.1_SUS

5.5.3-2.1_SUS

5.5.3-3.1_SUS

6.1 การจัดซื้อสินค้า

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน
6.1.1 การจัดซื้อสินค้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

(1) กำหนดผู้รับผิดชอบ และมีความเข้าใจ

(2) ค้นหารายการสินค้าที่เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม และสามารถระบุแหล่งข้อมูลสืบค้นได้

(3) จัดทำบัญชีรายชื่อสินค้าที่เป็นมิตร กับสิ่งแวดล้อมที่สอดคล้องกับสินค้า ที่ใช้จริงในสำนักงาน โดยจะต้องระบุรายการสินค้า ยี่ห้อ ฉลากสิ่งแวดล้อม วันหมดอายุการรับรอง ของสินค้านั้น หากเป็นฉลาก สิ่งแวดล้อมของต่างประเทศจะต้อง อ้างอิงหน่วยงาน/ประเทศที่ให้การ รับรองนั้น ๆ ด้วย

(4) แจ้งไปยังผู้ขายเพื่อขอความร่วมมือในการสั่งซื้อสินค้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม กรณีที่ไม่มีร้านค้าที่จำหน่ายสินค้าทีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
มีการแต่งตั้งคณะกรรมการตามเกณฑ์หมวดที่ 6 การจัดซื้อและจัดจ้าง โดยเป็นผู้ที่มีความรู้ ความสามารถในการปฏิบัติงานด้านการจัดซื้อและการจัดจ้าง ตามคำสั่งสำนักหอสมุกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร ที่ 0027/2567 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียว สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร สั่ง ณ วันที่ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2567 (GO-6.1.1-1 หน้า 13)

นอกจากนี้สำนักหอสมุดกลางฯ ได้จัดทำประกาศสำนักหอสมุดกลางฯ เรื่อง นโยบายการพัฒนาสำนักหอสมุดกลางสู่ห้องสมุดสีเขียว (SU Green Library) ณ วันที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2566 (GO-6.1.1-2) และประกาศมาตรการประหยัดพลังงานและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ณ วันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2566 (GO-6.1.1-3)

สำนักหอสมุดกลางฯ ได้ดำเนินการรวบรวมแหล่งข้อมูลที่สืบค้น เพื่อเป็นแนวทางในการจัดซื้อสินค้าที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ตามแบบรายการสินค้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและแหล่งสืบค้นได้ (GO-6.1.1-4) ได้ดำเนินการจัดซื้อสินค้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมได้จริง จำนวน 12 รายการ แบบบัญชีรายชื่อสินค้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมที่สอดคล้องกับสินค้าที่ใช้จริงในสำนักงาน (GO-6.1.1-5) ทั้งนี้ได้ทำหนังสือเพื่อขอความร่วมมือผู้ขายในการจัดหาสินค้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ไปถึงร้านค้า จำนวน 5 แห่ง (GO-6.1.1-6)
GO-6.1.1-1 คำสั่งคณะกรรมการห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียว

GO-6.1.1-2 ประกาศ-นโยบายการพัฒนาสำนักหอสมุดกลางฯ

GO-6.1.1-3 ประกาศ-มาตรการประหยัดพลังงานฯ

GO-6.1.1-4 แบบรายการสินค้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมฯ

GO-6.1.1-5 แบบบัญชีรายชื่อสินค้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมที่ใช้ในสำนักงาน

GO-6.1.1-6 หนังสือขอความอนุเคราะห์ร้านค้า จำนวน 5 ร้าน

6.1.2 ร้อยละของการจัดซื้อสินค้าประเภทวัสดุอุปกรณ์ในสำนักงานที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม การดำเนินงานในปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 ได้รวบรวมข้อมูลการจัดซื้อตั้งแต่ มกราคม – ธันวาคม 2567 สินค้าทั้งหมด 58 รายการ มีรายการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมรวมทั้งหมด 14 รายการ คิดเป็นร้อยละ 73.67 (GO-6.1.2-2)GO-6.1.2-1 กราฟแสดงร้อยละของสินค้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเทียบกับปริมาณและมูลค่าการจัดซื้อ

GO-6.1.2-2 แบบรายงานผลการจัดซื้อสินค้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมฯ

6.1.3 ร้อยละของปริมาณและประเภท ของวัสดุอุปกรณ์ในสำนักงานที่เป็นมิตร กับสิ่งแวดล้อม
มีการคำนวณร้อยละของปริมาณสินค้าที่ได้ดำเนินการจัดซื้อมาใช้จริงในสำนักงาน เช่น สินค้าที่ได้รับตะกร้าสีเขียว สินค้าที่ประหยัดพลังงาน Energy stay และสินค้าที่นำกลับมาใช้ใหม่ เป็นต้น ซึ่งได้คำนวณคิดเป็นร้อยละมูลค่าสินค้าได้คำนวณเป็นร้อยละ 70.18 ของมูลค่าสินค้าทั้งหมด ในแบบรายงานผลการจัดซื้อสินค้าที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมทั้งที่เป็นสินค้าที่ผ่านเกณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและไม่ผ่านเกณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (GO-6.1.3-1)GO-6.3.1-1 กราฟแสดงร้อยละของสินค้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเทียบกับปริมาณและมูลค่าการจัดซื้อ

GO-6.3.1-2 แบบรายงานผลการจัดซื้อสินค้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

6.2 การจัดจ้าง

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน
6.2.1 ร้อยละของการจัดจ้าง หน่วยงานหรือบุคคลที่มีการดำเนินงาน ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

(1) มีหลักฐานการพิจารณาถึงมาตรฐานด้านสิ่งแวดล้อมของหน่วยงานที่ได้การรับรองโดยจะต้องแสดงหลักฐาน การรับรองดังกล่าว

(2) หากหน่วยงานไม่มีมาตรฐานด้านสิ่งแวดล้อมรับรอง ทางสำนักงานจะต้องทำการประเมินด้านสิ่งแวดล้อมของหน่วยงานเบื้องต้น

(3) มีการจัดทำสัญญาหรือข้อตกลงด้าน สิ่งแวดล้อมเมื่อเข้ามาปฏิบัติงานใน สำนักงาน

(4) หน่วยงานหรือบุคคลที่ได้รับคัดเลือก จะต้องได้รับการอบรมหรือสื่อสารเกี่ยวกับสำนักงานสีเขียว และ แนวทางการจัดการสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมของตนเอง

(5) หน่วยงานหรือบุคคลเหล่านั้นสามารถอธิบายแนวทางในการจัดการสิ่งแวดล้อม ที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมของตนเองได้
การดำเนินจัดจ้างที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมทั้งที่ผ่านเกณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและไม่ผ่านเกณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม จำนวนทั้งหมด 19 งาน (GO-6.2.1-1) ในกรณีที่จัดจ้างไม่มีมาตราฐานด้านสิ่งแวดล้อมรับรอง ได้ดำเนินการทำแบบใบอนุญาตปฏิบัติงานและข้อตกลงด้านสิ่งแวดล้อม ในการเข้าปฏิบัติงาน (GO-6.2.1-2) พร้อมทั้งต้องประเมินประสิทธิภาพของผู้รับจ้าง/ผู้รับเหมาก่อสร้าง (GO-6.2.1-3) และเมื่อมีการทำสัญญาหรือข้อตกลง ทำสัญญาหรือข้อตกลงด้านสิ่งแวดล้อมกับผู้รับจ้าง (GO-6.2.1-4) และอธิบายทำความเข้าใจให้กับผู้รับจ้างได้ทำปฏิบัติตามข้อตกลงของสำนักหอสมุดกลางฯ เพื่อให้ใช้วัสดุอุปกรณ์/สินค้าที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (GO-6.2.1-5)GO-6.2.1-1 แบบรายงานผลการจัดจ้าง

GO-6.2.1-2 แบบใบอนุญาตปฏิบัติงานและข้อตกลงด้านสิ่งแวดล้อม

GO-6.2.1-3 แบบประเมินประสิทธิภาพของผู้รับจ้างผู้รับเหมาก่อสร้าง

GO-6.2.1-4 สัญญาข้อตกลงด้านสิ่งแวดล้อมกับผู้รับจ้าง

GO-6.2.1-5 การชี้แจงผู้รับจ้าง ผู้เข้ามาใช้พื้นที่ของหน่วยงานเกี่ยวกับสำนักงานสีเขียว
6.2.2 ร้อยละของการตรวจสอบด้าน การดูแลสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ปฏิบัติงาน ของหน่วยงานหรือบุคคลที่เข้ามา ดำเนินการ เช่น ผู้รับจ้าง ผู้รับจ้างช่วง แม่บ้าน รปภ. พนักงานส่งเอกสาร เป็นต้น GO-6.2.2-1 แบบประเมินประสิทธิภาพของู้รับจ้างผู้รับเหมาก่อสร้าง
6.2.3 ร้อยละของการเลือกใช้บริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (นอกสำนักงาน) ได้แก่ โรงแรม สถานที่จัดงาน หรืออื่น ๆ ที่ได้มีการขึ้นทะเบียนการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม มีการจัดประชุม/สัมมนา นอกสถานที่ 1 ครั้ง ซึ่งทำแบบคัดเลือกสถานที่ใช้บริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (นอกสำนักงาน) เพื่อประเมินสถานที่ใช้บริการมีความเหมาะสมและคำนึงถึงความเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (GO-6.2.3-1) และเมื่อมีการจัดสัมมนา/ประชุมต่างๆ สามารถสืบค้นสถานที่พักจากแหล่งสืบค้นโรงแรมที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (GO-6.2.3-2) สำนักหอสมุดกลางมีแนวปฏิบัติในการไปจัดประชุมนอกสถานที่ (GO-6.2.3-3) แนวปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้ห้องประชุมของสำนักฯ เพื่อขอความร่วมมือให้ใช้วัสดุที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม คำนึงถึงการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและพลังงาน ลดการก่อให้เกิดมลพิษ (GO-6.2.3-4) และมาตรการควบคุมการปฎิบัติงานของผู้รับจ้าง (GO-6.2.3-5)GO-6.2.3-1 แบบคัดเลือกสถานที่ใช้บริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม นอกสำนักงาน

GO-6.2.3-2 แหล่งการสืบค้นโรงแรมที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

GO-6.2.3-3 แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับกรณีที่ต้องไปจัดประชุม อบรม สัมมนา หรือกิจกรรมฯ

GO-6.2.3-4 แนวปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดประชุมและการจัดนิทรรศการ

GO-6.2.3-5 มาตรการควบคุมการปฏิบัติงานของผู้รับจ้าง ผู้รับเหมา ด้านสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัยของสำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร

Edit Template
1.1 การกำหนดนโยบายสิ่งแวดล้อม

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน
1.1.1 มีบริบทองค์กรและขอบเขตของการจัดการสิ่งแวดล้อมในสำนักงาน

(1) มีการกำหนดขอบเขตพื้นที่ของสำนักงาน
(2) มีการกำหนดขอบเขตกิจกรรมของสำนักงาน
สำนักหอสมุดกลางมีการกำหนดขอบเขตพื้นที่อย่างชัดเจน ทั้งพื้นที่ใช้งานรอบอาคารห้องสมุดและพื้นที่ภายในอาคาร สำนักหอสมุดกลางได้ทำการกำหนดจัดทำขอบเขตกิจกรรมของห้องสมุด โดยเน้นประโยชน์แก่ผู้รับบริการเป็นหลัก ทั้งในแง่ของความสะดวก รวดเร็วในการให้บริการ สภาพแวดล้อมที่สะอาดปลอดภัย โดยยังคงประสิทธิภาพในการทำงานของเจ้าหน้าที่และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมGO-1.1.1-1 บริบทหอสมุด
1.1.2 นโยบายด้านสิ่งแวดล้อมที่สอดคล้องและครอบคลุมประเด็นตามเกณฑ์การประเมินสำนักงานสีเขียวโดยแสดงความมุ่งมั่นอย่างต่อเนื่อง ดังนี้

(1) การปรับปรุงระบบการจัดการ สิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่อง

(2) การควบคุม ป้องกัน ลดผลกระทบ ด้านการใช้ทรัพยากร พลังงาน และ มลพิษ/ของเสีย รวมไปถึงการจัดซื้อ จัดจ้าง และบริการที่เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม เพื่อนำไปสู่การลดการ ปล่อยก๊าซเรือนกระจก

(3) การปฏิบัติตามกฎหมายและเกณฑ์ การเป็นสำนักงานสีเขียวของกรม ส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม

(4) การสร้างความรู้และความตระหนัก ด้านสิ่งแวดล้อมกับผู้เกี่ยวข้อง
ผู้บริหารฯได้ประกาศนโยบายพัฒนาสำนักหอสมุดกลางสู่ห้องสมุดสีเขียว เมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม 2566 โดยมีรายละเอียดของนโยบายที่ครอบคลุมทั้งในด้านการประหยัดพลังงาน การส่งเสริมการเข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศที่เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม และการสร้างเครือข่ายความร่วมมือ โดยกำหนดให้บุคลากรในหน่วยงานทุกคนมีส่วนในการร่วมผลักดันนโยบายนี้GO-1.1.2-1 นโยบายพัฒนาสำนักหอสมุดกลางสู่ห้องสมุดสีเขียว
1.1.3 การกำหนดนโยบายสิ่งแวดล้อม จากผู้บริหารระดับสูง

(1) นโยบายสิ่งแวดล้อมจะต้องได้รับการอนุมัติจากผู้บริหารสูงสุด หรือผู้ที่ได้รับมอบอำนาจ

(2) มีการระบุวันที่การประกาศใช้นโยบายสิ่งแวดล้อมอย่างชัดเจน

(3) ผู้บริหารหรือผู้มีอำนาจจะต้อง สามารถอธิบายถึงวัตถุประสงค์และ จุดมุ่งหมายด้านสิ่งแวดล้อมของ สำนักงาน

(4) ผู้บริหารหรือผู้มีอำนาจจะต้องมีส่วน ในการติดตามผลการปฏิบัติตาม นโยบายสิ่งแวดล้อมของสำนักงาน
นโยบายพัฒนาสำนักหอสมุดกลางสู่ห้องสมุดสีเขียวได้รับการอนุมัติจากผู้บริหารโดยมีวันประกาศระบุไว้อย่างชัดเจน คือวันที่ 31 พฤษภาคม 2566 ทั้งนี้ผู้บริหารมีส่วนร่วมในการติดตามผลการปฎิบัติงานผ่านการประชุมคณะกรรมการพัฒนาห้องสมุดสีเขียวเป็นประจำทุกเดือน โดยมีรองผู้อำนวยการ สำนักหอสมุดกลางฝ่ายบริหารเป็นประธานในที่ประชุมGO-1.1.3-1 นโยบายพัฒนาสำนักหอสมุดกลางสู่ห้องสมุดสีเขียว
1.1.4 มีการกำหนดแผนการดำเนินงานสำนักงานสีเขียวประจำปี

(1) รายละเอียดของแผนจะต้องระบุการดำเนินงานครบถ้วนทุกหมวด

(2) มีการกำหนดเวลาหรือความถี่ของการดำเนินงานของแต่ละหมวด

(3) มีการกำหนดแผนดำเนินงานเป็นลายลักษณ์อักษร และได้รับการ อนุมัติจากผู้บริหาร
สำนักหอสมุดกลางมีการกำหนดแผนการดำเนินงานสำนักงานสีเขียว ประจำปี 2567 โดย กำหนดให้บุคลากรทุกคนมีส่วนร่วมในการรับผิดชอบตามแผน (บุคลากรทุกคนจะต้องรับผิดชอบงานอย่างน้อยคนละ 1 หมวด) มีการกำหนดความถี่ในการดำเนินงานแต่ละหมวดตามความเหมาะสม และแผนดังกล่าวได้รับการอนุมัติจากผู้บริหารสำนักหอสมุดกลางเป็นที่เรียบร้อยGO-1.1.4-1 แผนดำเนินงานสำนักงานสีเขียว 2567
1.1.5 มีการกำหนดเป้าหมาย และ ตัวชี้วัดที่ชัดเจนด้านการใช้ทรัพยากร พลังงาน และของเสีย และปริมาณก๊าซ เรือนกระจก ดังนี้

(1) การใช้ไฟฟ้า

(2) การใช้น้ำมันเชื้อเพลิง

(3) การใช้น้ำ

(4) การใช้กระดาษ

(5) ปริมาณของเสีย

(6) ปริมาณก๊าซเรือนกระจก
สำนักหอสมุดกลางได้กำหนดค่าเป้าหมายด้านสิ่งแวดล้อมตามประกาศสำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร เรื่อง กำหนดเป้าหมายการจัดการพลังงานและการใช้ทรัพยากร ประจำปี พ.ศ.2567 โดยเน้นความสอดคล้องกับเกณฑ์สำนักงานสีเขียว ดังนี้
1. ลดการใช้พลังงานไฟฟ้าลดลงจากค่าเฉลี่ยปี พ.ศ. 2566 ร้อยละ 2
2. ลดการใช้น้ําลดลงจากค่าเฉลี่ยปี พ.ศ. 2566 ร้อยละ 2
3. ลดการใช้น้ํามันเชื้อเพลิงลดลงจากค่าเฉลี่ย 6 เดือนแรก ปี พ.ศ. 2567 ร้อยละ 2
4. ลดการใช้กระดาษลดลงจากค่าเฉลี่ย 6 เดือนแรก ปี พ.ศ. 2567 ร้อยละ 2
5. ลดปริมาณก๊าซเรือนกระจกลดลงจากค่าเฉลี่ย 6 เดือนแรก ปี พ.ศ. 2567 ร้อยละ 2
6. ลดปริมาณของขยะลดลงจากค่าเฉลี่ย 6 เดือนแรก ปี พ.ศ. 2567 ร้อยละ 5
GO-1.1.5-1 กำหนดเป้าหมายการจัดการพลังงานและการใช้ทรัพยากร ประจำปี พ.ศ.2567

1.2 คณะทำงานด้านสิ่งแวดล้อม

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน
1.2.1 มีการแต่งตั้งคณะกรรมการหรือ ทีมงานด้านสิ่งแวดล้อม โดยมีแนวทางดำเนินงาน ดังนี้

(1) ผู้บริหารแต่งตั้งคณะกรรมการหรือ ทีมงานด้านสิ่งแวดล้อมของสำนักงาน อย่างเป็นลายลักษณ์อักษร และลงนามอนุมัติ โดยคณะกรรมการหรือ ทีมงานจะต้องครอบคลุมทุกหมวด และบุคลากร/ผู้แทนจากทุกฝ่าย ในหน่วยงาน

(2) กำหนดอำนาจ บทบาท หน้าที่รับผิดชอบ ของคณะกรรมการอย่างชัดเจน
สำนักหอสมุดกลางได้มีคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียว โดยผู้บริหารได้ลงนามอนุมัติเป็นลายลักษณ์อักษร ทั้งนี้ในคำสั่งแต่งตั้งได้มีการกำหนดบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของคณะกรรมการในแต่ละหมวด โดยมีโครงสร้างเแต่ละหมวดคือ ประธานหมวด เลขานุการหมวดและกรรมการประจำหมวดGO 1.2.1-1 แต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาห้องสมุดสีเขียวและสํานักงานสีเขียว สํานักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร
1.2.2 ร้อยละของคณะกรรมการ หรือ ทีมงานด้านสิ่งแวดล้อมที่มีความเข้าใจ ในบทบาท และหน้าที่รับผิดชอบ ประเมินจากการสุ่มสอบถามดังนี้

(1) ประธาน/หัวหน้า

(2) คณะกรรมการหรือทีมงานทางด้านสิ่งแวดล้อมที่รับผิดชอบทุกหมวด (สามารถมอบหมายให้ผู้ตรวจ ประเมินแต่ละหมวดสุ่มสอบถามได้)
คณะกรรมการพัฒนาห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียวมีการดำเนินงานตามแผนงานที่ได้รับมอบหมาย โดยมีประธานหมวดต่าง ๆ เป็นผู้รายงานความคืบหน้าในการดำเนินงานในที่ประชุมคณะกรรมการพัฒนาห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียวเป็นประจำทุกเดือน หลังจากนั้นแต่ละหมวดจะมีการประชุมแผนการดำเนินงานภายในหมวด โดยทั้งประธานหมวด เลขานุการหมวดและกรรมการประจำหมวดเพื่อขับเคลื่อนงานต่อไป

1.3 การระบุประเด็นปัญหาทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน
1.3.1 กิจกรรมทั้งหมดของสำนักงาน ภายใต้ขอบเขตการขอการรับรอง สำนักงานสีเขียวจะต้องได้รับการระบุ และประเมินปัญหาสิ่งแวดล้อม

(1) มีการรวบรวมกิจกรรมของสำนักงาน ทั้งทางตรง และทางอ้อม ครบถ้วน ตามกิจกรรม ขอบเขตและบริบท ของสำนักงาน
(2) มีการกำหนดผู้รับผิดชอบที่มีความรู้ ความเข้าใจ
(3) ระบุการใช้พลังงาน ทรัพยากร วัตถุดิบ มลพิษ ของเสีย ของแต่ละ กิจกรรมจะต้องครบถ้วน
(4) ระบุปัญหาสิ่งแวดล้อมทางตรงและ ทางอ้อมครบถ้วน
(5) ระบุปัญหาสิ่งแวดล้อมสภาวะปกติ ผิดปกติ และฉุกเฉินครบถ้วน
(6) มีการพิจารณากฎหมายสิ่งแวดล้อม ที่เกี่ยวข้องกับปัญหาสิ่งแวดล้อม นั้นๆ อย่างครบถ้วนและถูกต้อง
(7) การประเมินเพื่อจัดลำดับความสำคัญ ของปัญหาสิ่งแวดล้อม
(8) มีหลักฐานการกำหนดระยะเวลาใน การทบทวนการระบุประเด็นปัญหา สิ่งแวดล้อม การใช้ทรัพยากรและ พลังงาน อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
(9) กรณีมีการปรับแผน/กิจกรรม หรือมี กิจกรรมเพิ่มเติม (เช่น มีแผนที่จะ ก่อสร้างอาคาร หรือเพิ่มเติมกิจกรรม ของสำนักงานในอนาคตอันใกล้ เป็น ต้น) จะต้องระบุกิจกรรมดังกล่าว ด้วย (ถ้ามี)
สำนักหอสมุดกลางได้ทำการประเมินปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นจากกิจกรรมทั้งหมดภายใต้ขอบเขตของหน่วยงาน ในปี 2567 โดยมีการระบุผู้รับผิดชอบเป็นหัวหน้าฝ่ายหอสมุดวิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี มีการระบุรูปแบบการใช้วัสดุ อุปกรณ์ และพลังงานในกิจกรรมนั้น ๆ มีการจำแนกปัญหาเป็นแบบทางตรงและทางอ้อม หลังการประเมินพบว่า มีกิจกรรมทั้งสิ้น 15 กิจกรรม ก๊าซเรือนกระจกและฝุ่นละอองเป็นปัจจัยนำออกหลักที่มักจะพบเป็นผลลัพธ์จากหลายกิจกรรม เช่น การทำความสะอาดชั้นหนังสือ การทำความสะอาดเครื่องปรับอากาศ เป็นต้น ได้มีการวิเคราะห์กฎหมายที่มีความสอดคล้องกับกิจกรรมต่างทุกกิจกรรมและพบว่ากิจกรรมส่วนใหญ่ของหน่วยงานมีการดำเนินงานที่สอดคล้องกับกฎหมายGO 1.3.1-1 ตารางวิเคราะห์กระบวนการทํางาน ประจําปี 2567

GO 1.3.1-2 ทะเบียนระบุและประเมินปัญหาสิ่งแวดล้อมดานทรัพยากร (Input )ปี 2567

GO 1.3.1-3 ทะเบียนระบุและประเมินปัญหาสิ่งแวดล้อมดานทรัพยากร (Output )ปี 2567

GO 1.3.1-4 ทะเบียนจัดลําดับปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีนัยสําคัญ
1.3.2 การวิเคราะห์และแนวทางการ แก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีนัยสำคัญ

(1) มีสรุปรายการปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีนัยสำคัญ

(2) กำหนดมาตรการ คู่มือ หรือแนวทาง ปฏิบัติเพื่อแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีนัยสำคัญ

(3) ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีนัยสำคัญมีการ ดำเนินการตามมาตรการ คู่มือ หรือแนวทางการแก้ไขครบถ้วน
หลังจากการระบุและประเมินปัญหาสิ่งแวดล้อมของกิจกรรมต่าง ๆ ของหน่วยงาน ได้มีการนำปัญหาสิ่งแวดล้อมดังกล่าวมาจัดความสำคัญ พบว่ามีปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีระดับนัยสำคัญระดับปานกลางจำนวน 9 กิจกรรม และปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีระดับนัยสำคัญระดับต่ำจำนวน 6 กิจกรรม ทั้งนี้คณะกรรมการดำเนินงานได้ร่วมกันกำหนดแนวทางในการควบคุมและป้องกันปัญหาต่าง ๆ ไว้สำหรับทุกกิจกรรม เช่น กิจกรรมการพิมพ์เป็นกิจกรรมที่มีปัจจัยนำออกเป็นเสียงดังรบกวน จึงได้เสนอให้แนวทางการควบคุมเป็นการแยกเครื่องพิมพ์ออกจากพื้นที่โต๊ะทำงานเพื่อลดผลกระทบดังกล่าว เป็นต้น

1.4 กฎหมายและข้อกำหนดอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน
1.4.1 มีการรวบรวมกฎหมาย สิ่งแวดล้อมและความปลอดภัยที่ เกี่ยวข้องกับสำนักงาน โดยมีแนวทางการดำเนินงานดังนี้

(1) ผู้รับผิดชอบมีความเข้าใจในการรวบรวม กฎหมายสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้อง

(2) จัดทำรายการกฎหมายที่ครอบคลุมปัญหาสิ่งแวดล้อมและบริบทของ สำนักงาน

(3) สามารถระบุแหล่งที่มาของกฎหมาย และข้อกำหนดอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องได้

(4) สามารถระบุความเกี่ยวข้องของ กฎหมายกับประเด็นปัญหาสิ่งแวดล้อมได้

(5) กฎหมายสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัยที่เกี่ยวข้องจะต้องเป็นปัจจุบัน

(6) มีการรวบรวมและทบทวนกฎหมาย อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง



หมายเหตุ สำนักงานจะต้องค้นหากฎหมายท้องถิ่นเพิ่มเติม

สำนักหอสมุดกลางได้ทำการรวบรวมกฎหมายสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัยที่เกี่ยวข้องกับสำนักงานฉบับปัจจุบันไว้ที่ฐานข้อมูลของหน่วยงาน เช่น พระราชบัญญัติ ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ.2535 หรือ ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง มาตรฐานความเข้มของแสงสว่าง 2561 เป็นต้น และได้จัดทำทะเบียนกฎหมายและข้อกำหนดด้านสิ่งแวดล้อมของหน่วยงานขึ้นผ่านการวิเคราะห์ร่วมกันGO 1.4.1-1 ทะเบียนกฎหมายและข้อกําหนดด้านสิ่งแวดล้อม

1.4.2 ประเมินความสอดคล้องของ กฎหมายกับการดำเนินงานการจัดการ สิ่งแวดล้อมของสำนักงาน โดยมีการดำเนินการดังนี้

(1) ผู้รับผิดชอบมีความเข้าใจในการ ประเมินความสอดคล้องของ กฎหมายกับการดำเนินงานการ จัดการสิ่งแวดล้อม

(2) มีการประเมินความสอดคล้องของ กฎหมายครบถ้วน

(3) มีการอ้างอิงหลักฐานการปฏิบัติตาม กฎหมายอย่างครบถ้วนและถูกต้อง กรณีที่พบว่าการดำเนินงานไม่ สอดคล้องกับกฎหมาย จะต้องมีการ วิเคราะห์สาเหตุ และกำหนดแนว ทางการแก้ไข (ถ้ามี)

(4) มีการกำหนดความถี่ในการประเมิน ความสอดคล้องของกฎหมายอย่าง น้อยปีละ 1 ครั้ง ที่เหมาะสมและมี การปฏิบัติตามที่กำหนดได้
ผลจากการวิเคราะห์พบว่ากิจกรรมส่วนใหญ่ของสำนักหอสมุดกลางมีความสอดคล้องกับกฎหมายสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย เว้นเพียงเรื่องความเข้มของแสงสว่างของพื้นที่ต่าง ๆ ที่พบว่ามีพื้นที่ที่มีความเข้มของแสงสว่างไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานจำนวน 13 จุด (59%) และผ่านเกณฑ์มาตรฐานจำนวน 9 จุด (41%) เนื่องจากหอสมุดวิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรีอยู่ในช่วงการปรับปรุงกายภาพ Creative and Smart Learning Space ที่มีกำหนดการก่อสร้างระหว่างเดือนพฤศจิกายน 2567 ถึงเดือนเมษายน 2568 จึงเห็นควรทำการแก้ไขความเข้มของแสงสว่างภายหลังจากที่การปรับปรุงกายภาพแล้วเสร็จ

1.5 ข้อมูลก๊าซเรือนกระจก

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน
1.5.1 การเก็บข้อมูลก๊าซเรือนกระจก จากกิจกรรมในสำนักงาน จะต้องประกอบไปด้วย

(1) ปริมาณการใช้ไฟฟ้า

(2) ปริมาณการใช้เชื้อเพลิงสำหรับการเดินทาง

(3) ปริมาณการใช้น้ำประปา

(4) ปริมาณการใช้กระดาษ

(5) ปริมาณการเกิดของเสีย (ฝังกลบ) (โดยใช้ค่าสัมประสิทธิ์การปลดปล่อยก๊าซ เรือนกระจก (Emission Factor ; EF) ของ องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก ล่าสุด)
สำนักหอสมุดกลางได้ดำเนินการเก็บข้อมูลก๊าซเรือนกระจกโดยครอบคลุมทั้ง 5 ประเภท ตลอดปี 2567 สอดคล้องกับเกณฑ์สำนักงานสีเขียว มีการรายงานข้อมูลดังกล่าวในที่ประชุมคณะกรรมการพัฒนาห้องสมุดสีเขียวเป็นประจำทุกเดือน เพื่อติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน หลังจากนั้นจึงนำผลการดำเนินงานมาวิเคราะห์เพื่อพัฒนาแนวทางการดำเนินงานต่อไป1.5.1-1 ข้อมูลก๊าซเรือนกระจก
1.5.2 ปริมาณก๊าซเรือนกระจกบรรลุเป้าหมาย

กรณีบรรลุเป้าหมาย

(1) สรุปสาเหตุที่นำไปสู่การบรรลุ เพื่อการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง



กรณีไม่บรรลุเป้าหมาย

(1) มีการวิเคราะห์สาเหตุในกรณีที่ไม่บรรลุเป้าหมาย

(2) มีแนวทางการแก้ไขในกรณีที่ไม่ บรรลุเป้าหมาย

(3) มีการติดตามผลหลังแก้ไข
สำนักหอสมุดกลางได้มีการตั้งเป้าที่จะลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกลง 2% ใน 6 เดือนหลังของปี 2567 เมื่อเทียบกับ 6 เดือนแรกของปีเดียวกัน จากการดำเนินงานปรากฎว่า 6 เดือนแรกของปี 2567 มีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกเป็นจำนวนทั้งสิ้น 34.19.17 tCO2e และมีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกเพียง 24.94 tCO2e ใน 6 เดือนหลังของปี 2567 คิดเป็น 27% อันมีสาเหตุจากการดำเนินงานตามมาตรการด้านทรัพยากรต่างๆ เช่น มาตรการการควบคุมการใช้พลังงานไฟฟ้า มาตรการการประหยัดน้ำ มาตราการการใช้น้ำมันเชื้อเพลิง เป็นต้น
1.5.3 ร้อยละของพนักงานมีความ เข้าใจและการรับรู้ปริมาณก๊าซเรือนกระจกของสำนักงาน โดยจะต้องสอบถามดังนี้

(1) ความสำคัญของก๊าซเรือนกระจกกับการทำสำนักงานสีเขียว

(2) แนวทางการลดการปล่อยก๊าซเรือน กระจก

(3) ปริมาณก๊าซเรือนกระจกของสำนักงาน เมื่อเปรียบเทียบกับค่าเป้าหมาย
สำนักหอสมุดกลางได้มีการสื่อสารกับบุคลากรเกี่ยวกับก๊าซเรือนกระจกผ่านช่องทางต่างๆอย่างสม่ำเสมอ บุคลากรทุกคนมีส่วนร่วมในการช่วยลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกผ่านการดำเนินงานตามมาตรการต่าง ๆ เช่น มาตรการการควบคุมการใช้พลังงานไฟฟ้า มาตรการการประหยัดน้ำ เป็นต้น และเมื่อการดำเนินงานสิ้นสุดตามกรอบเวลาที่ได้กำหนดจึงได้มีการสื่อสารให้บุคลากรทุกคนทราบ ถึงผลการดำเนินงานเรื่องการปล่อยก๊าซเรือนกระจกเปรียบเทียบกับค่าเป้าหมายของหน่วยงาน

1.6 แผนงานโครงการที่นำไปสู่การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน
1.6.1 การกำหนดวัตถุประสงค์ เป้าหมาย และโครงการสิ่งแวดล้อม จะต้องมีการดำเนินการดังนี้

(1) วัตถุประสงค์ เป้าหมาย จะต้อง สอดคล้องกับนโยบายสิ่งแวดล้อม หรือปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีนัยสำคัญ หรือกฎหมายสิ่งแวดล้อม

(2) วัตถุประสงค์ เป้าหมาย สามารถ วัดผลได้

(3) กิจกรรม/นวัตกรรมที่กำหนดใน โครงการสิ่งแวดล้อมมีความสอดคล้อง กับวัตถุประสงค์และเป้าหมาย

(4) ระยะเวลาการทำโครงการมีความเหมาะสม

(5) โครงการมีการกำหนดผู้รับผิดชอบ อย่างชัดเจน และจะต้องมีความเข้าใจ
จากการตรวจวัดความเข้มของแสงสว่างตามเกณฑ์ 1.4 กฎหมายและข้อกำหนดอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง พบว่ามีบางพื้นที่ที่มีความสว่างต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน ผนวกกับความต้องการตรวจสอบและเปลี่ยนหลอดไฟที่ใช้อยู่ให้เป็นแบบประหยัดไฟ จึงนำไปสู่การดำเนินโครงการการเพิ่มประสิทธิภาพการลดการใช้พลังงานไฟฟ้า โดยมีวัตถุประสงค์ดังนี้
1. เพื่อลดการใช้พลังงานไฟฟ้าของสำนักหอสมุดกลาง
2. เพื่อสร้างค่านิยมและจิตสำนึกในการใช้พลังงาน
โดยมีเป้าหมายดังนี้
1. ใช้พลังงานไฟฟ้าลดลงจากค่าเฉลี่ยในช่วงเวลาเดียวกันของปี 2566 ร้อยละ 2
2. เปลี่ยนหลอดไฟเป็นแบบประหยัดไฟไม่น้อยกว่า 80% ในพื้นที่ให้บริการและสำนักงาน
3. เปลี่ยนหลอดไฟเป็นแบบเซ็นเซอร์จับความเคลื่อนไหวไม่น้อยกว่า 50% ในพื้นที่ทางสัญจร และห้องน้ำ
1.6.2 ผลสำเร็จของวัตถุประสงค์และ เป้าหมาย แนวทางการปรับปรุงอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน

(1) มีแผนการดำเนินโครงการหรือ นวัตกรรมที่ชัดเจน

(2) ดำเนินการตามแผนที่กำหนดไว้ อย่างต่อเนื่อง

3) มีการกำหนดความถี ่ในการติดตามผล และปฏิบัติตามอย่างต่อเนื่อง

(4) มีการติดตามความก้าวหน้าของ โครงการ

(5) ดำเนินการเสร็จสิ้นและบรรลุตาม เป้าหมายที่กำหนด / กรณีที่ไม่บรรลุเป้าหมายมีการทบทวนเพื่อหา สาเหตุและแนวทางแก้ไข

(6) มีการกำหนดแนวทางเพื่อให้เกิด ความต่อเนื่องและยั่งยืนหลังบรรลุ เป้าหมายตามที่กำหนด
สำนักหอสมุดกลางได้มีการกำหนดแผนการดำเนินโครงการอย่างชัดเจน โดยมีการติดตามผลเป็นระยะผ่านที่ประชุมคณะกรรมการพัฒนาห้องสมุดสีเขียว ทั้งนี้เนื่องจากหอสมุดวิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรีอยู่ในช่วงการปรับปรุงกายภาพ Creative and Smart Learning Space ที่มีกำหนดการก่อสร้างระหว่างเดือนพฤศจิกายน 2567 ถึงเดือนเมษายน 2568 จึงเห็นควรทำการแก้ไขความเข้มของแสงสว่างและเปลี่ยนหลอดไฟเป็นหลอดแระหยัดไฟตามโครงการภายหลังจากที่การปรับปรุงกายภาพแล้วเสร็จ

1.7 การตรวจประเมินสำนักงานสีเขียวภายในสำนักงาน (สำหรับหน่วยงานต่ออายุและขอยกระดับสำนักงานสีเขียว)

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน
1.7.1 การวางแผนและดำเนินการตรวจประเมินสำนักงานสีเขียวภายในสำนักงาน

(1) มีการแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจประเมินสำนักงานสีเขียวภายในสำนักงาน ประกอบด้วย หัวหน้า ผู้ตรวจประเมินและผู้ตรวจประเมิน ซึ่งจะต้องผ่านการฝึกอบรมหลักสูตร การดำเนินงานสำนักงานสีเขียว และหลักสูตรการตรวจประเมินสำนักงาน สีเขียว

(2) มีการกำหนดความถี่ในการตรวจประเมินสำนักงานสีเขียวภายในสำนักงานอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง

(3) มีการจัดทำข้อกำหนดการตรวจประเมินภายในครอบคลุมทุกหมวด

(4) กำหนดผู้ตรวจประเมินภายในแต่ละหมวดมีความเพียงพอและเหมาะสม มีความเป็นอิสระในการตรวจประเมิน อย่างชัดเจน

(5) การดำเนินการตรวจประเมินสำนักงานสีเขียวภายในสำนักงานครบถ้วนทุกหมวด

1.8 การทบทวนฝ่ายบริหาร

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน
1.8.1 การกำหนดองค์ประชุมทบทวนฝ่ายบริหาร

(1) มีผู้บริหารเข้าร่วมประชุม

(2) มีตัวแทนของแต่ละฝ่าย/แผนก/ส่วน งานที่มีความเกี่ยวข้องกับการดำเนินงานในแต่ละหมวดเข้าร่วมประชุม

(3) จำนวนผู้เข้าร่วมการประชุมจะต้อง มากกว่าร้อยละ 75 ของจำนวนผู้ที่เป็นคณะกรรมการสำนักงานสีเขียว พร้อมหลักฐานการลงนามเข้าร่วม ประชุม

(4) หากผู้ที่จะต้องเข้าประชุมไม่สามารถเข้าร่วมได้ จะต้องมีวิธีการรายงาน ผลการประชุมให้รับทราบ พร้อมรับข้อเสนอแนะ
เมื่อวันที่ 25 ตุลาคม 2567 ได้มีการจัดประชุมทบทวนฝ่ายบริหาร โดยมีผู้บริหาร ประธาน เลานุการและกรรมการประจำหมวดเข้าร่วมการประชุมทั้งสิ้น 64 คน ลาประชุม 18 คน โดยมีผู้เข้าร่วมการประชุมคิดเป็นร้อยละ 78 ของบุคลากรทั้งหมด หลังจากการประชุมได้มีการส่งรายงานการประชุมไปยังบุคลากรทุกคนผ่านระบบ D-SarabunGO-1.8.1-1 รายงานการประชุมทบทวนฝ่ายบริหาร

GO-1.8.1-2 ภาพถ่ายการประชุม
1.8.2 มีการกำหนดวาระการประชุม และทำการประชุมทบทวนฝ่ายบริหาร ดังนี้

(1) มีการประชุมทบทวนฝ่ายบริหาร อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง

(2) วาระที่ 1 การติดตามผลการประชุม ทบทวนฝ่ายบริหารที่ผ่านมา

(3) วาระที่ 2 นโยบายสิ่งแวดล้อม

(4) วาระที่ 3 ความมีประสิทธิภาพของ คณะกรรมการหรือทีมงานด้าน สิ่งแวดล้อม (ความเพียงพอและ ความเหมาะสม)

(5) วาระที่ 4 การติดตามผลการ ดำเนินงานด้านสิ่งแวดล้อม การ สื่อสารและข้อคิดเห็นด้านสิ่งแวดล้อม การปฏิบัติตามกฎหมาย รวมถึงแนวทางการแก้ไขปรับปรุง และพัฒนา

(6) วาระที่ 5 การเปลี่ยนแปลงที่จะ ส่งผลกระทบต่อความสำเร็จในการ ดำเนินงานด้านสิ่งแวดล้อม

(7) วาระที่ 6 ข้อเสนอแนะจากที่ประชุม และวิสัยทัศน์ แนวคิดของผู้บริหาร ของการดำเนินงานสำนักงานสีเขียว อย่างต่อเนื่อง

(8) จัดทำรายงานการประชุมทบทวน ฝ่ายบริหาร และภาพถ่ายที่แสดงให้ เห็นว่ามีการประชุมจริง
การประชุมทบทวนฝ่ายบริหารที่ได้จัดขึ้นในวันที่ 25 ตุลาคม 2567 นั้นมีวาระที่เป็นไปตามข้อกำหนดหมวด 1.3.2 โดยการประชุมเป็นรูปแบบผสมผสานทั้งออนไซด์และออนไลน์

2.1 การอบรมให้ความรู้และประเมินความเข้าใจ

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน

2.1.1 กำหนดแผนการฝึกอบรม ดำเนินการอบรม การประเมินผล และ บันทึกประวัติการฝึกอบรม

(1) ระบุหลักสูตรและความถี่การอบรม ลงในแผนการฝึกอบรม โดยหลักสูตร ครอบคลุมเนื้อหามีรายละเอียด อย่างน้อย ดังนี้

– ความสำคัญของสำนักงานสีเขียว

– การใช้พลังงานและทรัพยากร อย่างมีประสิทธิภาพ
– การจัดการมลพิษและของเสีย

– การจัดซื้อจัดจ้างที่เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม

– ก๊าซเรือนกระจก

(2) ดำเนินการฝึกอบรมตามแผนการ ฝึกอบรมในข้อ (1) โดยผู้รับการ อบรมจะต้องมากกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายในแต่ละหลักสูตร

(3) ประเมินผลการฝึกอบรม เช่น ข้อสอบ หรือการประเมินขณะ ปฏิบัติงาน เป็นต้น

(4) จัดทำประวัติการอบรมของพนักงาน
ฝ่ายหอสมุดวิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี มีการกำหนดหลักสูตรและแผนการฝึกอบรม 2568 เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม ซึ่งระบุหลักสูตร ความถี่ในการอบรม โดยมีเนื้อหาของหลักสูตรครอบคลุมทั้ง 9 ด้าน
1. นโยบายสิ่งแวดล้อม
2. ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีนัยสำคัญและการจัดการ
3. การปฏิบัติตามกฎหมาย
4. ความสะอาดและความเป็นระเบียบ (5ส.)
5. เป้าหมายและมาตรการพลังงาน-ทรัพยากร (ได้แก่น้ำ ไฟฟ้า น้ามันเชื้อเพลิง ก๊าซหุงต้ม กระดาษ และอื่นๆ)
6. เป้าหมายและมาตรการจัดการของเสีย
7. ผลการใช้ทรัพยากร พลังงาน และของเสีย
8. สินค้าและบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
9. ก๊าซเรือนกระจก


โดยมีช่องทางในการสื่อสาทั้งภายในและภายนอกที่มีประสิทธิภาพ ดังนี้

1. ประชุมคณะกรรมการพัฒนาห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียว
2. เพจ Facebook หอสมุดวิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี
3. Line@ หอสมุดเพชรบุรี

4. จออิเล็กทรอนิกส์
5. บอร์ดประชาสัมพันธ์
6. โปสเตอร์มุม SUP Green Library
7. เว็บไซต์ https://lib.su.ac.th/green-library/


มีการดำเนินการฝึกอบรมตามแผนการฝึกอบรม โดยมีบุคลากรของหอสมุดฯ เข้าร่วมอบรมมากกว่าร้อยละ 80 ของจำนวนบุคลากรทั้งหมด มีการประเมินผลการฝึกอบรม และบันทึกประวัติการฝึกอบรมของบุคลากรหอสมุดฯ
GO-2.1.1-1 (4) ประวัติการฝึกอบรม
2.1.2 กำหนดผู้รับผิดชอบด้านการ อบรมแต่ละหลักสูตรมีความเหมาะสม

(1) ผู้รับผิดชอบในการอบรมจะต้อง เข้าใจเนื้อหาในการอบรม

(2) ผู้รับผิดชอบในการอบรมจะต้องมี หลักฐานแสดงความสามารถ เช่น ใบรับรองจากหน่วยงานภายนอก หรือ ประวัติ หรือประสบการณ์ (อย่างใดอย่างหนึ่ง)
ผู้รับผิดชอบในการอบรมแต่ละหลักสูตรเป็นผู้มีความรู้ ความสามารถและประสบการณ์ในการอบรม

2.2 การรณรงค์และประชาสัมพันธ์แก่พนักงาน

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน
2.2.1 มีการกำหนดผู้รับผิดชอบและแนวทางสื่อสารด้านสิ่งแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกสำนักงาน

(1) กำหนดหัวข้อและความถี่การสื่อสารอย่างน้อย ดังนี้



(2) กำหนดช่องทางการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพกับหัวข้อการสื่อสาร และองค์กร (ไม่จำกัดจำนวนช่องทาง)

(3) กำหนดกลุ่มเป้าหมายรับเรื่องสื่อสาร (ผู้ที่เกี่ยวข้องที่อยู่ภายในและภายนอกสำนักงาน)

(4) กำหนดผู้รับผิดชอบในการสื่อสาร
ฝ่ายหอสมุดฯ มีการจัดทำแผนการสื่อสารด้านพลังงานสิ่งแวดล้อม มีการกำหนดผู้รับผิดชอบ ช่องทางการสื่อสาร กำหนดกลุ่มเป้าหมายทั้งภายใน (บุคลากรหอสมุดฯ) และภายนอก (ผู้ใช้บริการของหอสมุด นักศึกษา อาจารย์ บุคลากร และบุคคลภายนอก)
2.2.2 มีการรณรงค์สื่อสารและให้ ความรู้ตามที่กำหนดในข้อ 2.2.1ฝ่ายหอสมุดฯ จัดทำสื่อด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม เพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ทั้งภายในและภายนอกหอสมุด
2.2.3 ร้อยละความเข้าใจนโยบาย สิ่งแวดล้อมและการดำเนินงาน สำนักงานสีเขียว (สุ่มอย่างน้อย 4 คน) โดยจะต้องสอบถามพนักงานแต่ละคน อย่างน้อยตามข้อ 2.2.1 (1)ฝ่ายหอสมุดฯ สร้างความเข้าใจโดยมีการประกาศสำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร เรื่อง นโยบายการพัฒนาสำนักหอสมุดกลางสู่ห้องสมุดสีเขียว (SU Green Library) ในวันที่ 31 พฤษภาคม 2566 เป็นต้น
2.2.4 มีช่องทางรับข้อเสนอแนะ/ ข้อคิดเห็นด้านสิ่งแวดล้อม และนำมา ปรับปรุงแก้ไข โดยต้องมีแนวทางดังนี้

(1) มีช่องทางเพื่อรับข้อเสนอแนะ/ ข้อคิดเห็นด้านสิ่งแวดล้อม เช่น ไลน์ QR Code การประชุม เว็บไซต์

(2) มีผู้รับผิดชอบในการรับข้อเสนอแนะ/ ข้อคิดเห็น

(3) มีการแสดงข้อเสนอแนะด้าน สิ่งแวดล้อมและการจัดการ

(4) มีการรายงานข้อเสนอแนะและการ จัดการแก่ผู้บริหาร (บรรยายให้ เหมาะสม)
ฝ่ายหอสมุดฯ มีการกำหนดช่องทางเพื่อรับข้อเสนอแนะ และข้อคิดเห็นด้านสิ่งแวดล้อม และกำหนดผู้รับผิดชอบเพื่อตรวจสอบข้อร้องเรียน โดยจัดทำเป็น QR-Code เผยแพร่ในจุดบริการต่างๆ ของหอสมุด เช่น เคาน์เตอร์บริการยืม-คืน, มุม SUP Green Library

3.1 การใช้น้ำ

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน
3.1.1 มาตรการหรือแนวทางใช้น้ำมีความเหมาะสมกับสำนักงาน

จะต้องประกอบไปด้วยรายละเอียดดังนี้

(1) การสร้างความตระหนักในการใช้น้ำ

(2) การกำหนดเวลาการใช้น้ำ เช่น เวลารดน้ำต้นไม้ เป็นต้น

(3) การกำหนดรูปแบบการนำน้ำกลับมาใช้ใหม่

(4) การเปลี่ยนอุปกรณ์ประหยัดน้ำ
ฝ่ายหอสมุดฯ มีประกาศมาตรการมาตรการประหยัดพลังงานและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม (3.1.1) ลงวันที่ 14 ธันวาคม 2566 ครอบคลุมมาตรการการประหยัดน้ำ และมีการประชาสัมพันธ์ในช่องทางต่างๆ ของหอสมุด เพื่อสร้างความตระหนัก ในการใช้น้ำ มีการตรวจสอบอุปกรณ์ ถังเก็บน้ำ ตรวจสอบการรั่วซึมของก็อกน้ำ สายฉีด การป้ายเพื่อรณรงค์การประหยัดน้ำในห้องน้ำทั้งห้องน้ำชายและหญิง มีการนำน้ำที่เหลือจากขวดของนักศึกษาที่ทิ้งในถังขยะ หรือลืมไว้ตามจุดต่าง ตลอดจนน้ำทิ้ง ณ จุดให้บริการน้ำดื่มในหอสมุดมาใช้ในการรดน้ำต้นไม้ในหอสมุดฯ
3.1.2 มีการจัดทำข้อมูลการใช้น้ำต่อหน่วยเปรียบเทียบกับเป้าหมาย

การเก็บข้อมูล กรณีบรรลุเป้าหมาย

(1) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำแต่ละเดือน

(2) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำต่อหน่วย

(3) บรรลุเป้าหมาย

(4) สรุปสาเหตุที่นำไปสู่การบรรลุ เพื่อการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง



การเก็บข้อมูล กรณีไม่บรรลุเป้าหมาย

(1) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำแต่ละเดือน

(2) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำต่อหน่วย

(3) มีการวิเคราะห์สาเหตุและแนวทางแก้ไข
ฝ่ายหอสมุดฯ มีการจัดเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำในแต่ละเดือน และจัดทำข้อมูลแสดงการเปรียบเทียบการใช้น้ำในรูปแบบกราฟ (3.1.2 (1-2)) มีการกำหนดให้มีการตรวจสอบอุปกรณ์เพื่อป้องกันการรั่วไหลของน้ำ

มีการบันทึกข้อมูลการใช้น้ำประปา ของตึกวิทยบริการตั้งแต่เดือนมกราคม-ธันวาคม ประจำปี 2566 และปี 2567 เพื่อเปรียบเทียบกับค่าเป้าหมาย (3.1.2 (3))

การเปรียบเทียบการลดการใช้น้ำ จากค่าเฉลี่ยในปี 2566 ที่กำหนดค่าเป้าหมายไว้ที่ร้อยละ 2 มีปริมาณการใช้น้ำประปาลดลงร้อยละ…. บรรลุค่าเป้าหมายในการใช้น้ำเมื่อเทียบกับข้อมูลการใช้น้ำประปา ประจำปีงบประมาณ 2566 ในช่วงเวลาเดียวกัน
3.1.3 ร้อยละของการปฏิบัติตามมาตรการประหยัดน้ำในพื้นที่ทำงาน (ประเมินจากพฤติกรรมของบุคลากรในพื้นที่)จากการสำรวจพฤติกรรมการปฏิบัติตามมาตรการการประหยัดน้ำของบุคลากรหอสมุดฯ พบว่าบุคลากรมีการปฏิบัติตามมาตรการ ในภาพรวม

3.2 การใช้พลังงาน

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน
3.2.1 มาตรการหรือแนวทางการใช้ไฟฟ้าเหมาะสมกับสำนักงาน

จะต้องประกอบไปด้วยรายละเอียดดังนี้

(1) การสร้างความตระหนักในการใช้ไฟฟ้า

(2) การกำหนดเวลาการใช้ไฟฟ้า เช่น เวลาการเปิด – ปิด เป็นต้น

(3) การใช้พลังงานทดแทน

(4) การเปลี่ยนอุปกรณ์ประหยัดไฟฟ้า
ฝ่ายหอสมุดฯ สร้างความตระหนักในการใช้ไฟฟ้าตามมาตรการประหยัดพลังงานและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร เผยแพร่ในช่องทางต่างๆ ของหอสมุด (3.2.1 (1)) มีการกำหนดเวลาในการเปิดเครื่องปรับอากาศ ปิดไฟห้องทำงานในระหว่างเวลาพักและเลิกงาน


(3) มีการติดตั้งแผงไฟโซลาเซลล์เพื่อส่องแสงสว่างภายนอกอาคาร


(4) มีการเปลี่ยนหลอด LED ขนาดไม่เกิน 18 วัตต์ จำนวน 595 หลอด

(4) มีการเปลี่ยนเครื่องปรับอากาศทดแทนของเดิมของชั้น 1 และชั้น 2 จำนวน 19 ตัว
3.2.2 มีการจัดทำข้อมูลการใช้ไฟฟ้าต่อหน่วยเปรียบเทียบกับเป้าหมาย

การเก็บข้อมูล กรณีบรรลุเป้าหมาย

(1) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้ไฟฟ้าแต่ละเดือน

(2) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้ไฟฟ้าต่อหน่วย

(3) บรรลุเป้าหมาย

(4) สรุปสาเหตุที่นำไปสู่การบรรลุ เพื่อการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง



การเก็บข้อมูล กรณีไม่บรรลุเป้าหมาย
(1) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้ไฟฟ้าแต่ละเดือน
(2) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้ไฟฟ้าต่อหน่วย
(3) มีการวิเคราะห์สาเหตุและแนวทางแก้ไข
ฝ่ายหอสมุดฯ มีการจัดเก็บข้อมูลปริมาณการใช้ไฟฟ้าในแต่ละเดือน และจัดทำข้อมูลแสดงการเปรียบเทียบการใช้ไฟฟ้าในรูปแบบกราฟ (3.2.2 (1-2))

มีการบันทึกข้อมูลการใช้ไฟฟ้า ของตึกวิทยบริการตั้งแต่เดือนมกราคม-ธันวาคม ประจำปี 2566 และปี 2567 เพื่อเปรียบเทียบกับค่าเป้าหมาย (3.2.2 (3))

การเปรียบเทียบการลดการใช้ไฟฟ้า จากค่าเฉลี่ยในปี 2566 ที่กำหนดค่าเป้าหมายไว้ที่ร้อยละ 2 มีปริมาณการใช้ไฟฟ้าลดลงร้อยละ บรรลุค่าเป้าหมายในการใช้ไฟฟ้าเมื่อเทียบกับข้อมูลการใช้น้ำไฟฟ้า ประจำปีงบประมาณ 2566 ในช่วงเวลาเดียวกัน
3.2.3 ร้อยละของการปฏิบัติตามมาตรการประหยัดไฟฟ้าในพื้นที่ทำงาน (ประเมินจากพฤติกรรมของบุคลากรในพื้นที่)จากการสำรวจพฤติกรรมการปฏิบัติตามมาตรการการประหยัดไฟฟ้าของบุคลากรหอสมุดฯ พบว่าบุคลากรมีการปฏิบัติตามมาตรการ ในภาพรวมร้อยละ (ทำข้อคำถามแบบประเมินแล้ว รอมาตรการประกาศเพิ่มเติม)
3.2.4 มาตรการหรือแนวทางการใช้ น้ำมันเชื้อเพลิงในการเดินทางที่เหมาะสมกับสำนักงาน ดำเนินการดังนี้

(1) การสื่อสารผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์

(2) การวางแผนการเดินทาง

(3) การซ่อมบำรุงดูแลยานพาหนะ

(4) การใช้จักรยานหรือขนส่งสาธารณะมาทำงาน
ฝ่ายหอสมุดฯ มีแนวทางในการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงที่เหมาะสม ดังนี้
1. ใช้การประชุมผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ และจัดส่งเอกสารผ่านระบบ d-sarabun
2. วางแผนการเดินทาง และกำหนดเส้นเดินทางทั้งขาไป-ขากลับ
3. การซ่อมบำรุงดูแลยานพาหนะ – ฝ่ายหอสมุดฯ ไม่มียานพาหนะเป็นของหน่วยงาน จึงไม่ได้ดำเนินการในข้อนี้
4. การใช้จักรยาน จักรยานไฟฟ้าหรือใช้รถรางของมหาวิทยาลัย มาทำงาน
3.2.5 มีการจัดทำข้อมูลการใช้น้ำมัน เชื้อเพลิงต่อหน่วยเปรียบเทียบกับเป้าหมาย

การเก็บข้อมูล กรณีบรรลุเป้าหมาย

(1) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงแต่ละเดือน

(2) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงต่อหน่วย

(3) บรรลุเป้าหมาย

(4) สรุปสาเหตุที่นำไปสู่การบรรลุเพื่อการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง



การเก็บข้อมูล กรณีไม่บรรลุเป้าหมาย

(1) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงแต่ละเดือน

(2) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงต่อหน่วย

(3) มีการวิเคราะห์สาเหตุและแนวทางแก้ไข
ฝ่ายหอสมุดฯ จัดเก็บข้อมูลการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงที่ใช้ในการเดินทางไปราชการ และค่าน้ำมันในการจัดส่งเอกสารภายในมหาวิทยาลัยในแต่ละเดือน 3.2.5 (1) ทุกเดือนและข้อมูลการใช้น้ำมันต่อหน่วย ในปี 2567 (3.2.5 (1) เพื่อเปรียบเทียบกับค่าเป้าหมาย (3.2.5 (3))

3.3 การใช้ทรัพยากรอื่น ๆ

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน
3.3.1 มาตรการหรือแนวทางการใช้กระดาษที่เหมาะสมกับสำนักงาน จะต้องประกอบไปด้วยรายละเอียดดังนี้

(1) การสร้างความตระหนักในการใช้กระดาษ

(2) การกำหนดรูปแบบการใช้กระดาษ

(3) การใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์

(4) การนำกระดาษกลับมาใช้ใหม่
ฝ่ายหอสมุดฯ สร้างความตระหนักในการใช้กระดาษ โดยมีการประกาศมาตรการการใช้กระดาษ (3.1.1) ให้บุคลากรของหอสมุดรับทราบ และใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติผ่านช่องทางต่าง ๆ

มีการกำหนดรูปแบบของกระดาษ โดยแยกประเภทของกระดาษ และกำหนดให้ใช้ให้ถูกประเภท มีการใช้กระดาษที่ได้รับการรับรองและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม มีการรณรงค์ให้ใช้กระดาษหน้าเดียว และแยกกระดาษ 2 หน้า เพื่อทำกิจกรรมรีไซเคิล เพื่อให้เกิดการใช้ประโยชน์จากกระดาษอย่างสูงสุด

มีการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ แทนการใช้กระดาษ เช่นหนังสือเวียน เวียนผ่าน d-sarabun เอกสารประชุม ใช้การประชุม ใช้เป็นเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ ใช้ระบบสแกนนิ้วแทนการเซ็นชื่อปฏิบัติงานในกระดาษ ใช้ซองเอกสาร กล่องกระดาษที่บรรจุเอกสาร หนังสือจากสำนักพิมพ์ในการส่งเอกสารการเงินระหว่างหน่วยงาน หรือส่งหนังสือยืม-คืนระหว่างวิทยาเขต เป็นต้น
3.3.2 มีการจัดทำข้อมูลการใช้กระดาษ ต่อหน่วยเปรียบเทียบกับเป้าหมาย

การเก็บข้อมูล กรณีบรรลุเป้าหมาย

(1) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้กระดาษแต่ละเดือน

(2) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้กระดาษต่อหน่วย

(3) บรรลุเป้าหมาย

(4) สรุปสาเหตุที่นำไปสู่การบรรลุ เพื่อการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง



การเก็บข้อมูล กรณีไม่บรรลุเป้าหมาย

(1) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้กระดาษแต่ละเดือน

(2) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้กระดาษต่อหน่วย

(3) มีการวิเคราะห์สาเหตุและแนวทางแก้ไข
ฝ่ายหอสมุดฯ มีการจัดเก็บข้อมูลปริมาณการใช้กระดาษแต่ละเดือน และการใช้กระดาษต่อหน่วย (3.2.2 (2) เพื่อเปรียบเทียบกับค่าเป้าหมาย (3.2.2 (3))
3.3.3 ร้อยละของการปฏิบัติตามมาตรการประหยัดกระดาษในพื้นที่ทำงาน (ประเมินจากพฤติกรรมของบุคลากรในพื้นที่)จากการสำรวจพฤติกรรมการปฏิบัติตามมาตรการการใช้กระดาษของบุคลากรหอสมุดฯ พบว่าบุคลากรมีการปฏิบัติตามมาตรการ ในภาพรวม
3.3.4 มาตรการหรือแนวทางการใช้หมึกพิมพ์ อุปกรณ์เครื่องเขียน วัสดุ อุปกรณ์เหมาะสมกับสำนักงาน จะต้องประกอบไปด้วยรายละเอียดดังนี้

(1) การสร้างความตระหนักในการใช้

(2) การกำหนดรูปแบบการใช้

(3) การใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์
ฝ่ายหอสมุดฯ สร้างความตระหนักในการใช้หมึกพิมพ์ อุปกรณ์เครื่องเขียน วัสดุ อุปกรณ์ที่มีความเหมาะสมกับหน่วยงาน โดยมีการประกาศมาตรการการใช้วัสดุข้างต้นให้บุคลากรของหอสมุดรับทราบ และใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติผ่านช่องทางต่างๆ
3.3.5 ร้อยละของการดำเนินตาม มาตรการประหยัดการใช้หมึกพิมพ์ อุปกรณ์เครื่องเขียน วัสดุ อุปกรณ์สำนักงาน (ประเมินจากพฤติกรรมของบุคลากรในพื้นที่)จากการสำรวจพฤติกรรมการปฏิบัติตามมาตรการการประหยัดการใช้หมึกพิมพ์ อุปกรณ์เครื่องเขียน วัสดุ อุปกรณ์สำนักงานของบุคลากรหอสมุดฯ พบว่าบุคลากรมีการปฏิบัติตามมาตรการ ในภาพรวม

3.4 การประชุมและการจัดนิทรรศการ

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน
3.4.1 ร้อยละของการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ในการส่งข้อมูลเพื่อเตรียมการประชุม ได้แก่ QR code, Email, Social Network, Intranet เป็นต้น ฝ่ายหอสมุดฯ มีการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ในการส่งข้อมูลการประชุมผ่าน e-mail, ผ่านระบบ d-sarabun, และแชร์ผ่าน share point ของหน่วยงาน
3.4.2 การจัดการประชุมและนิทรรศการที่มีการใช้วัสดุที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ลดการใช้ทรัพยากรพลังงาน และลดของเสียที่เกิดขึ้น จะต้องดำเนินการดังนี้

(1) การจัดเตรียมขนาดห้องประชุมเหมาะสมกับจำนวนผู้เข้าประชุมหรือจัดนิทรรศการ

(2) ห้องประชุมหรือพื้นที่จัดนิทรรศการไม่มีการตกแต่งด้วยวัสดุที่ย่อยสลายยาก หรือวัสดุที่ใช้ครั้งเดียวแล้วทิ้ง

(3) การกำหนดแนวทางเลือกสถานที่ภายนอกสำนักงานที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

(4) การจัดเตรียมสื่อที่ใช้ในการประชุม โดยจะต้องลดการใช้กระดาษ หมึกพิมพ์

(5) การจัดเตรียมอาหาร และเครื่องดื่มเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
ฝ่ายหอสมุดฯ มีการจัดการประชุมและนิทรรศการที่มีการใช้วัสดุที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
(1) มีการจัดเตรียมห้องประชุมที่เหมาะสมกับจำนวนคน
(2) ห้องประชุมไม่มีการประดับตกแต่งห้อง ด้วยวัสดุที่ย่อยสลายยาก หรือเป็นวัสดุใช้ครั้งเดียวแล้วทิ้ง
(3) มีการกำหนดมาตรการในการเลือกสถานที่ในการจัดประชุม เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (3.4.2 (3))
(4) มีการใช้ระบบอิเล็กทรอนิกส์สำหรับนำส่งหนังสือเชิญประชุมและเอกสารที่ใช้ในการการประชุม
(5) อาหารและเครื่องดื่มที่นำมาใช้ในการจัดประชุมจะเลือกใช้วัสดุที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

4.1 การจัดการของเสีย

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน
4.1.1 มีการดำเนินงานตามแนวทางการคัดแยก รวบรวม และกำจัดขยะอย่างเหมาะสม มีแนวทางการดำเนินงาน ดังนี้

(1) มีการคัดแยกขยะตามประเภทขยะที่เกิดขึ้นจากกิจกรรมภายในสำนักงาน และจัดวางถังขยะตามพื้นที่ทำงานต่าง ๆ อย่างเหมาะสมทุกจุดที่สุ่มตรวจสอบ

(2) มีการติดป้ายบ่งชี้ประเภทขยะอย่างถูกต้องและชัดเจนทุกถังที่สุ่มตรวจสอบ

(3) มีจุดพักขยะที่เหมาะสมตามหลักวิชาการ โดยจะต้องมีพื้นที่รองรับขยะแต่ละประเภทจากข้อ (1) อย่างเพียงพอ

(4) มีการทิ้งขยะถูกต้องทุกจุดที่สุ่มตรวจสอบ

(5) มีการส่งขยะให้ อปท. หรือผู้รับจ้างที่ได้รับอนุญาตตามกฎหมาย

(6) มีการติดตาม ตรวจสอบการกำจัดขยะของผู้รับจ้างให้มีการจัดการอย่างเหมาะสมตามหลักวิชาการ (กรณีส่งให้ อปท.ให้ถือว่ามีการจัดการอย่างเหมาะสม)

(7) ไม่มีการเผาขยะในบริเวณหรือพื้นที่ของสำนักงาน (ยกเว้นเตาเผาที่ได้รับการอนุญาตอย่างถูกต้อง)
ฝ่ายหอสมุดฯ มีมาตรการการจัดการขยะ ประกาศให้บุคลากรของหอสมุดทราบ และใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติเพื่อจัดการขยะ
(1) มีการคัดแยกขยะตามประเภทขยะที่เกิดขึ้นจากกิจกรรมภายในหอสมุด และมีการจัดวางถังขยะครอบคลุมพื้นที่ทั้งชั้น 1 และชั้น 2

(2) มีการติดป้ายเพื่อบ่งชี้ประเภทของขยะเพื่อให้ทั้งบคลากรและผู้ใช้บริการของหอสมุดแยกประเภทขยะก่อนทิ้งอย่างถูกต้อง โดยมีการสุ่มตรวจ

(3) กำหนดจุดพักขยะเพื่อรองรับขยะแต่ละประเภท อย่างเพียงพอโดยจัดวางไว้ด้านข้างของอาคารวิทยบริการ เป็นถังมรฝาปิดมิดชิด มีสัญลักษณ์แจ้งประเภทของขยะชัดเจน

(4) กำหนดให้มีผู้รับผิดชอบในการสุ่มตรวจขยะในทุกจุดที่มีการตั้งขยะ และมีความถี่ในการตรวจเป็นรายสัปดาห์ละ 1 วัน พร้อมทั้งมีการนำส่งรายงานผลการสุ่มตรวจสอบการคัดแยกขยะ เป็นประจำทุกเดือน

(5) (6) มีการจัดส่งขยะของหอสมุดเพื่อจัดส่งให้ผู้รับจ้างที่ได้รับอนุญาต ตามกฎหมาย

(6) ไม่มีการเผาขยะในพื้นที่ และบริเวณของอาคารวิทยบริการ ยกเว้นขยะติดเชื้อจกห้องน้ำจะส่งกำจัดโดยเตาเผาขยะปลอดมลพิษของมหาวิทยาลัย
GO-4.1.1-1-3 SUP มีการคัดแยกขยะตามประเภทขยะที่เกิดขึ้นจากกิจกรรมภายในสำนักงาน และจัดวางถังขยะตามพื้นที่ทำงานต่าง ๆ อย่างเหมาะสมทุกจุดที่สุ่มตรวจสอบ

GO-4.1.1-5-6 SUP มีการส่งขยะให้ อปท. หรือผู้รับจ้างที่ได้รับอนุญาตตามกฎหมาย มีการติดตาม ตรวจสอบการกำจัดขยะของผู้รับจ้างให้มีการจัดการอย่างเหมาะสมตามหลักวิชาการ (กรณีส่งให้ อปท.ให้ถือว่ามีการจัดการอย่างเหมาะสมมีการติดตาม ตรวจสอบการกำจัดขยะของผู้รับจ้างให้มีการจัดการอย่างเหมาะสมตามหลักวิชาการ (กรณีส่งให้ อปท.ให้ถือว่ามีการจัดการอย่างเหมาะสม

GO-4.1.1-7 SUP ไม่มีการเผาขยะในบริเวณหรือพื้นที่ของสำนักงาน (ยกเว้นเตาเผาที่ได้รับการอนุญาตอย่างถูกต้อง)
4.1.2 การนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์ หรือนำกลับมาใช้ใหม่ ส่งผลให้ขยะที่จะส่งไปกำจัดมีปริมาณน้อยลง

(1) มีการนำขยะกลับมาใช้ใหม่

(2) มีการบันทึกข้อมูลปริมาณขยะแต่ละประเภทครบถ้วนทุกเดือน

(3) มีการวิเคราะห์ปริมาณขยะเทียบค่าเป้าหมายที่ได้กำหนดจากหมวด 1 ข้อ 1.1.5

(4) ปริมาณขยะที่ส่งกำจัดมีแนวโน้มลดลง
ฝ่ายหอสมุดฯ
(1) มีการนำขยะกลับมาใช้ใหม่ โดยขยะอินทรี / แก้วไบโอพลาสติกส์ที่ผู้ใช้บริการทิ้งในถังขยะรีไซเคิล จะรวบรวมส่งโรงผลิตปุ๋ยของมหาวิทยาลัย มีการจัดกิจกรรมภายในหอสมุด reuse ยกกำลัง2 นำกระดาษใช้แล้ว 2 ด้านมาพับเป็นซองยาเพื่อมอบให้ห้องพยาบาล ของมหาวิทยาลัย หรือใช้เป็นกระดาษห่อผ้าอนามัยในห้องน้ำหญิง

(2) มีการบันทึกข้อมูลปริมาณขยะแต่ละประเภทครบทุกเดือน โดยเริ่มจัดเก็บตั้งแต่เดือนมกราคม ปี 2567

(3) มีการวิเคราะห์เพื่อเปรียบเทียบค่าเป้าหมายที่กำหนดไว้ในมาตรการประหยัดพลังงานและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ข้อ 6 ลดปริมาณของขยะลดลงจากค่าเฉลี่ย 6 เดือนแรก ปี 2567 ร้อยละ 5
GO-4.1.2-1 SUP มีการนำขยะกลับมาใช้ใหม่

GO-4.1.2-2 SUP มีการบันทึกข้อมูลปริมาณขยะแต่ละประเภทครบถ้วนทุกเดือน

GO-4.1.2-3-4 SUP มีการวิเคราะห์ปริมาณขยะเทียบค่าเป้าหมายที่ได้กำหนดจากหมวด 1 ข้อ 1.1.5 ปริมาณขยะที่ส่งกำจัดมีแนวโน้มลดลง

4.2 การจัดการน้ำเสีย

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน
4.2.1 การจัดการน้ำเสียของสำนักงาน และคุณภาพน้ำทิ้งจะต้องอยู่ในมาตรฐานกฎหมายที่เกี่ยวข้อง โดยมีแนวทางดังนี้

(1) การกำหนดผู้รับผิดชอบดูแลการจัดการน้ำเสีย และจะต้องมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแล

(2) มีการบำบัดน้ำเสียอย่างเหมาะสม และมีประสิทธิภาพ เช่น มีตะแกรง ดักเศษอาหาร มีบ่อดักไขมัน หรือมีระบบบำบัดน้ำเสียเหมาะสมกับองค์ประกอบของน้ำเสีย

(3) มีการบำบัดน้ำเสียครบทุกจุดที่ปล่อยน้ำเสีย

(4) มีผลการตรวจสอบคุณภาพน้ำทิ้งที่อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานตามที่กฎหมายกำหนด
(1) อาคารวิทยบริการ มีผู้รับผิดชอบเพื่อดูแลการกำจัดน้ำเสีย มีตำแหน่งเป็นผู้ช่วยช่าง สังกัดงานบริการกลาง ของมหาวิทยาลัย
(2) ฝ่ายหอสมุดมีการบำบัดน้ำเสียอย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ เช่น มีตะแกรงดักเศษอาหาร มีถังดักไขมัน โดยน้ำเสียของอาคารวิทยบริการ จะมีการทำรางเปิดรับน้ำเสีย และไหลไปยังระบบบำบัดน้ำเสียของมหาวิทยาลัย

(3) หอสมุดมีการคัดแยกกาก และไขมันออกจากน้ำเสียก่อนปล่อยลงสู่ท่อน้ำทิ้งของอาคารวิทยบริการ

(4) มีรายงานผลการตรวจสอบคุณภาพน้ำ
GO-4.2.1-1 SUP การกำหนดผู้รับผิดชอบดูแลการจัดการน้ำเสีย และจะต้องมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแล

GO-4.2.1-2 SUP มีการบำบัดน้ำเสียอย่างเหมาะสม และมีประสิทธิภาพ เช่น มีตะแกรง ดักเศษอาหาร มีบ่อดักไขมัน หรือมีระบบบำบัดน้ำเสียเหมาะสมกับองค์ประกอบของน้ำเสีย

GO-4.2.1-3 SUP มีการบำบัดน้ำเสียครบทุกจุดที่ปล่อยน้ำเสีย

GO-4.2.1-4 SUP มีผลการตรวจสอบคุณภาพน้ำทิ้งที่อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานตามที่กฎหมายกำหนด
4.2.2 การดูแลอุปกรณ์บำบัดน้ำเสีย โดยมีแนวทางดังนี้

(1) มีการดูแลระบบบำบัดน้ำเสีย หรือมีการตักและทำความสะอาดเศษอาหาร และไขมันออกจากตะแกรงดักขยะหรือบ่อดักไขมัน ตามความถี่ที่กำหนดอย่างเหมาะสมกับปริมาณและการปนเปื้อน

(2) มีการนำกากตะกอนจากระบบบำบัดน้ำเสียหรือเศษอาหาร น้ำมันและไขมันจากถัง/บ่อดักไขมันไปกำจัดอย่างถูกต้อง

(3) มีการตรวจสอบ ปรับปรุง ซ่อมแซมระบบบำบัดน้ำเสียให้สามารถใช้งาน และมีประสิทธิภาพอยู่เสมอ

(4) มีการตรวจสอบการรั่วไหลของน้ำเสียอย่างสม่ำเสมอเพื่อป้องกันการปนเปื้อนของน้ำเสียไปยังแหล่งอื่นๆ
(1) ฝ่ายหอสมุดมีการตักเศษอาหารและทำความสะอาดตะแกรงแยกเศษอาหาร รวมทั้งมีการตักไขมันออกจากถังดักไขมัน และทำความสะอาดถังดักไขมันเป็นประจำทุกเดือน

(2) มีการนำกากตะกอน ที่เป็นเศษอาหารน้ำมัน/ไขมัน จากถังดักไขมัน ไปกำจัดที่โรงผลิตปุ๋ยหมัก ของมหาวิทยาลัย เพื่อทำเป็นปุ๋ยหมักจากขยะอินทรีย์

(3) (4) พนักงานอาคารสถานที่ของหอสมุด จะทำหน้าที่ในการดูแลตะแกรงแยกเศษอาหาร ถังดักไขมันของหอสมุด ส่วนระบบบำบัดน้ำเสียของอาคารวิทยบริการจะมีผู้ช่วยช่างทั่วไป จากงานบริการกลางของมหาวิทยาลัย ทำหน้าที่ในการดูแลรักษาและตรวจสอบถังบำบัดน้ำเสีย รวมทั้งตรวจสอบการรั่วไหลของน้ำเสียอย่างสม่ำเสมอเพื่อป้องกันการปนเปื้อนของน้ำเสียไปยังแหล่งอื่นๆ
GO-4.2.2-1 SUP มีการดูแลระบบบำบัดน้ำเสีย หรือมีการตักและทำความสะอาดเศษอาหาร และไขมันออกจากตะแกรงดักขยะหรือบ่อดักไขมัน ตามความถี่ที่กำหนดอย่างเหมาะสมกับปริมาณและการปนเปื้อน

GO-4.2.2-2 SUP มีการนำกากตะกอนจากระบบบำบัดน้ำเสียหรือเศษอาหาร น้ำมันและไขมันจากถัง/บ่อดักไขมันไปกำจัดอย่างถูกต้อง

GO-4.2.2-3 SUP มีการตรวจสอบ ปรับปรุง ซ่อมแซมระบบบำบัดน้ำเสียให้สามารถใช้งาน และมีประสิทธิภาพอยู่เสมอ

GO-4.2.2-4 SUP มีการตรวจสอบการรั่วไหลของน้ำเสียอย่างสม่ำเสมอเพื่อป้องกันการปนเปื้อนของน้ำเสียไปยังแหล่งอื่นๆ

5.1 อากาศในสำนักงาน

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน
5.1.1 การควบคุมมลพิษทางอากาศในสำนักงาน

(1) มีแผนการดูแลบำรุงรักษา ได้แก่ เครื่องปรับอากาศ เครื่องถ่ายเอกสาร เครื่องพิมพ์เอกสาร (Printer) พรมปูพื้นห้อง (ขึ้นอยู่กับสำนักงาน)

(2) มีการกำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบตามแผนการดูแลบำรุงรักษา

(3) มีการปฏิบัติตามแผนที่กำหนดใน ข้อ 1

(4) มีการควบคุมมลพิษทางอากาศจากการปฏิบัติในข้อ 1

(5) การจัดวางเครื่องพิมพ์เอกสาร เครื่องถ่ายเอกสาร (Printer) ให้ห่างไกลผู้ปฏิบัติงาน

(6) การควบคุมควันไอเสียรถยนต์บริเวณสำนักงาน เช่น ติดป้ายดับเครื่องยนต์

(7) การป้องกันอันตรายจากการพ่นยากำจัดแมลง (ถ้ามี)

(8) มีการสื่อสารหรือแจ้งให้ทราบถึงการเกิดมลพิษทางอากาศจากกิจกรรม ต่าง ๆ เพื่อการเตรียมความพร้อม และระวังการได้รับอันตราย
หอสมุดวิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี มีการ
(1) (2) จัดทำแผนและกำหนดผู้รับผิดชอบในการดูแลรักษาเครื่องปรับอากาศ เครื่องพิมพ์เอกสาร (Printer) และพรมปูพื้น เพื่อการควบคุม ดูแลป้องกันมลพิษทางอากาศของสำนักงาน (5.1.1-1.1_SUP) โดยกำหนดหน้าที่ผู้รับผิดชอบในการดูแลรักษาความรับผิดชอบเครื่องปรับอากาศ เครื่องถ่ายเอกสาร พรมปูพื้น และผ้าม่าน (5.1.1-1.2_SUP) และได้ปฏิบัติงานตามแผน (5.1.1-1.3_SUP)



(3) มีการควบคุมมลพิษทางอากาศจากการปฏิบัติในข้อ 1 โดยจัดทำประกาศมาตรการควบคุมมลพิษทางอากาศ (5.1.1-1.4_SUP) เพื่อใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติภายในหอสมุดฯ



(5) มีการวางตำแหน่งของ เครื่อง printer ให้มีระยะห่างจากผู้ปฏิบัติงาน (5.1.1-1.5_SUP) นอกจากนั้นยังมีการควบคุมมลพิษทางอากาศบริเวณรอบฝ่ายหอสมุดฯ โดยมีการติดตั้งป้ายด้านข้างฝ่ายหอสมุดฯ บริเวณด้านหลังซึ่งเป็นพื้นที่รับส่งของ เพื่อป้องกันไอเสียจากรถยนต์ (5.1.1-1.6_SUP)



(7) มีการป้องกันและกำจัดแมลงที่จะสร้างมลพิษ โดยผู้รับจ้างจะปฏิบัติตามแบบอนุญาตปฏิบัติงานและข้อตกลงด้านสิ่งแวดล้อมของสำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร (5.1.1-1.7_SUP) อีกทั้งยังมีการส่งเสริมให้บุคลากรตระหนักและทราบถึงปัญหามลพิษทางอากาศที่อาจเกิดจากกิจกรรมต่างๆ เช่น กรณีการปรับปรุงกายภาพของหอสมุดฯ ได้กำหนดให้ผู้รับเหมามีการกั้นพื้นที่ และจัดหาหน้ากากอนามัยที่สามารถกันฝุ่นละอองที่เล็ดลอดเข้ามาในพื้นที่ปฏิบัติงานด้วย (5.1.1-1.8_SUP)
GO-5.1.1-1-2 SUP มีแผนการดูแลบำรุงรักษา มีการกำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบตามแผนการดูแลบำรุงรักษา

GO-5.1.1-3 SUP มีการปฏิบัติตามแผนที่กำหนดใน ข้อ 1

GO-5.1.1-4-SUP มีการควบคุมมลพิษทางอากาศจากการปฏิบัติในข้อ 1

GO-5.1.1-5 SUP การจัดวางเครื่องพิมพ์เอกสาร เครื่องถ่ายเอกสาร (Printer) ให้ห่างไกลผู้ปฏิบัติงาน

GO-5.1.1-6 SUP การควบคุมควันไอเสียรถยนต์บริเวณสำนักงาน เช่น ติดป้ายดับเครื่องยนต์

GO-5.1.1-7 SUP การป้องกันอันตรายจากการพ่นยากำจัดแมลง (ถ้ามี)

GO-5.1.1-8 SUP มีการสื่อสารหรือแจ้งให้ทราบถึงการเกิดมลพิษทางอากาศจากกิจกรรม ต่าง ๆ เพื่อการเตรียมความพร้อม และระวังการได้รับอันตราย
5.1.2 มีการรณรงค์ไม่สูบบุหรี่หรือมี การกำหนดพื้นที่สูบบุหรี่ที่เหมาะสม และปฏิบัติตามที่กำหนด

(1) มีการรณรงค์การไม่สูบบุหรี่

(2) มีการติดสัญลักษณ์เขตปลอดบุหรี่

(3) มีการติดสัญลักษณ์เขตสูบบุหรี่

(4) เขตสูบบุหรี่จะต้องไม่อยู่ในบริเวณที่ก่อให้เกิดความเดือดร้อนรำคาญแก่ ประชาชนที่อยู่บริเวณข้างเคียง ไม่อยู่ในบริเวณทางเข้า – ออกของ สถานที่ที่ให้มีการคุ้มครองสุขภาพของผู้ไม่สูบบุหรี่ และไม่อยู่ในบริเวณที่เปิดเผยอันเป็นที่เห็นได้ชัดแก่ผู้มาใช้สถานที่นั้น

(5) ไม่พบการสูบบุหรี่หรือก้นบุหรี่นอกเขตสูบบุหรี่
ฝ่ายหอสมุดฯ มีการรณรงค์ห้ามสูบบุหรี่ภายในหอสมุด (5.1.2-1.1_SUP) และมีการติดตั้งสัญลักษณ์ห้ามสูบบุหรี่ ทั้งภายในและภายนอกหอสมุด (5.1.2-2.1_SUP) รวมทั้งมีการประชาสัมพันธ์“เขตสูบบุหรี่” ซึ่งเป็นพื้นที่ด้านนอกอาคารวิทยบริการ ที่มหาวิทยาลัยอนุญาตให้เป็นพื้นที่สำหรับบุหรี่โดยเฉพาะ

GO-5.1.2-1-4 SUP มีการรณรงค์ไม่สูบบุหรี่หรือมี การกำหนดพื้นที่สูบบุหรี่ที่เหมาะสม และปฏิบัติตามที่กำหนด
5.1.3 การจัดการมลพิษทางอากาศ จากการก่อสร้าง ปรับปรุง อาคารหรือ อื่น ๆ ในสำนักงานที่ส่งผลต่อพนักงาน

(1) กำหนดมาตรการรองรับเพื่อจัดการมลพิษทางอากาศจากการก่อสร้าง ปรับปรุงอาคาร

(2) ปฏิบัติตามมาตรการที่ได้กำหนดใน ข้อ (1)

แนวทางการกำหนดมาตรการมีดังนี้

– มีพื้นที่ทำงานสำรองให้กับพนักงาน

– มีที่กั้นเพื่อป้องกันมลพิษทางอากาศที่จะส่งผลกระทบกับพนักงานหรือผู้ที่เกี่ยวข้อง

– มีการสื่อสารหรือติดป้ายแจ้งเตือน เพื่อการเตรียมความพร้อมและระวังการได้รับอันตราย
ฝ่ายหอสมุดฯ มีโครงการปรับปรุงกายภาพระหว่างเดือนพฤศจิกายน 2567 – พฤษภาคม 2568 มีจัดการมลพิษทางอากาศ โดยจัดทำมาตรการควบคุมการปฏิบัติงานของผู้รับจ้าง ผู้รับเหมา ด้านสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัยด้านมลพิษทางอากาศ ฝุ่นละออง เสียง และสุขภาพของผู้ปฏิบัติงาน ลงวันที่ ว ด ป หน้า x (5.1.3-1.1_SUP) ซึ่งกำหนดไว้ในสัญญาจ้าง รวมทั้งได้จัดทำข้อตกลงปฏิบัติตามแบบอนุญาตปฏิบัติงานและข้อตกลงด้านสิ่งแวดล้อมของสำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากรไว้ด้วย มีกำหนดพื้นที่ทำงานสำรองให้กับบุคลากรของหอสมุด มีการกั้นพื้นที่ทำงานเพื่อป้องกันมลพิษทางอากาศที่ส่งผลกระทบกับผู้รับบริการ และบุคลากรของหอสมุด มีการติดตั้งตั้งประตูปิดเพื่อกันพื้นที่ และมีป้ายห้ามเข้าพื้นที่ที่อยู่ระหว่างปรับปรุง GO-5.1.3-1 SUP กำหนดมาตรการรองรับเพื่อจัดการมลพิษทางอากาศจากการก่อสร้าง ปรับปรุงอาคาร

GO-5.1.3-2 SUP ปฏิบัติตามมาตรการที่ได้กำหนดใน ข้อ (1) แนวทางการกำหนดมาตรการมีดังนี้

5.2 แสงในสำนักงาน

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน
5.2.1 มีการตรวจวัดความเข้มของแสงสว่าง (โดยอุปกรณ์การตรวจวัด ความเข้มของแสงสว่างที่ได้มาตรฐาน) และดำเนินการแก้ไขตามที่มาตรฐานกำหนด

(1) มีการตรวจวัดความเข้มของแสงสว่างประจำปี พร้อมแสดงหลักฐานผลการตรวจวัดความเข้มของแสงสว่าง เฉพาะจุดทำงานแลพื้นที่ทำงาน

(2) เครื่องวัดความเข้มของแสงสว่าง จะต้องมีมาตรฐานและได้รับการสอบเทียบ (แสดงหลักฐานใบรับรอง)

(3) ผลการตรวจวัดจะต้องเป็นไปตามมาตรฐานกฎหมายกำหนด

(4) ผู้ที่ตรวจวัดความเข้มของแสงสว่างจะต้องเป็นไปตามที่กฎหมายกำหนด
ฝ่ายหอสมุดฯ ได้ตรวจวัดแสงสว่างภายในอาคาร โดยขอความร่วมมือจากภาควิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร มาตรวจวัดแสงสว่างภายในอาคารหอสมุด เมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน 2567

(1) มีการตรวจวัดความเข้มแสง และมีรายงานผลการตรวจวัดแสงฯ ของอาคารหอสมุด (ตามเอกสารแนบท้าย) พร้อมแสดงหลักฐานผลการตรวจวัดแสงเฉพาะจุดทำงานและพื้นที่บริการ (5.2.1-1.1_SUP)

(2) เครื่องวัดความเข้มแสง มีมาตรฐานและได้รับการสอบเทียบ และมีหลักฐานใบรับรองในเอกสารรายงานผลการตรวจวัดแสงฯ ของอาคาร (5.2.1-2.1_SUP)

(3) บางจุดให้บริการของหอสมุด ผลการตรวจวัดไม่เป็นไปตามมาตรฐานทีกฎหมายกำหนด แต่ได้มีการจัดทำใบขอให้แก้ไขและป้องกันสิ่งที่ไม่เป็นไปตามข้อกำหนด เพื่อเสนอต่อผู้บริหารสำนักหอสมุดกลางโดยมีการจัดทำโครงการเปลี่ยนปลอดไฟ ซึ่งจะดำเนินการตรวจวัดแสงและเปลี่ยนหลอดไฟอีกครั้งหลังจากเสร็จสิ้นโครงการปรับปรุงกายภาพของหอสมุด (5.2.1-3.1_SUP)

(4) ผู้ที่ตรวจวัดความเข้มแสงมีคุณสมบัติในการเป็นผู้ตรวจสอบ และเป็นไปตามที่กฎหมายกำหนด (5.2.1-4.1_SUP)

(เป็นอาจารย์สังกัดภาควิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

ดังหลักฐานแสดงในเอกสารรายงานผลการตรวจวัดแสงฯ ของอาคารหอสมุด)
GO-5.2.1-1 SUP มีการตรวจวัดความเข้มของแสงสว่างประจำปี พร้อมแสดงหลักฐานผลการตรวจวัดความเข้มของแสงสว่าง เฉพาะจุดทำงานแลพื้นที่ทำงาน

GO-5.2.1-3-4 SUP ผลการตรวจวัดจะต้องเป็นไปตามมาตรฐานกฎหมายกำหนด ผู้ที่ตรวจวัดความเข้มของแสงสว่างจะต้องเป็นไปตามที่กฎหมายกำหนด

5.3 เสียง

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน
5.3.1 การควบคุมมลพิษทางเสียงภายในอาคารสำนักงาน

(1) กำหนดมาตรการรองรับเพื่อจัดการ เสียงดังที่มาจากภายในสำนักงาน

(2) ปฏิบัติตามมาตรการที่ได้กำหนดใน ข้อ (1) ถ้าพบว่ามีเสียงดังที่มาจากภายในสำนักงาน
ฝ่ายหอสมุดมีการดำเนินการตามโครงการปรับปรุงกายภาพระหว่างเดือนพฤศจิกายน 2567 – พฤษภาคม 2568 มีการจัดทำประกาศ เรื่อง มาตรการควบคุมมลพิษทางอากาศและเสียง เพื่อควบคุมเสียงดังทั้งภายในและภายนอกสำนักงาน เพื่อให้มีแนวปฏิบัติที่ชัดเจน อย่างเคร่งครัด (5.3.1-1.1_SUP) GO-5.3.1-1 SUP กำหนดมาตรการรองรับเพื่อจัดการ เสียงดังที่มาจากภายในสำนักงาน

GO-5.3.1-2 SUP ปฏิบัติตามมาตรการที่ได้กำหนดใน ข้อ (1) ถ้าพบว่ามีเสียงดังที่มาจากภายในสำนักงาน
5.3.2 การจัดการเสียงดังจากการ ก่อสร้าง ปรับปรุงอาคารหรืออื่น ๆ ในสำนักงานที่ส่งผลต่อพนักงาน

(1) กำหนดมาตรการรองรับเพื่อจัดการเสียงดังที่เกิดจากการก่อสร้าง ปรับปรุงอาคาร

(2) ปฏิบัติตามมาตรการที่ได้กำหนดใน ข้อ (1) แนวทางการกำหนดมาตรการมีดังนี้

– มีพื้นที่ทำงานสำรองให้กับพนักงาน

– มีการสื่อสารหรือติดป้ายแจ้งเตือน เพื่อการเตรียมความพร้อมและระวังการได้รับอันตราย
ฝ่ายหอสมุดมีการดำเนินการตามโครงการปรับปรุงกายภาพระหว่างเดือนพฤศจิกายน 2567 – พฤษภาคม 2568 มีการจัดทำประกาศ เรื่อง มาตรการควบคุมมลพิษทางอากาศและเสียง เพื่อควบคุมเสียงดังทั้งภายในและภายนอกสำนักงาน เพื่อให้มีแนวปฏิบัติที่ชัดเจน มีการจัดเตรียมพื้นที่ทำงานสำหรับผู้ปฏิบัติงาน และมีการงดการให้บริการล่วงเวลาในวันจันทร์-วันศุกร์ และวันเสาร์-อาทิตย์เพื่อให้ผู้รับเหมาปฏิบัติงานที่ใช้เสียงดังมากในช่วงเวลาดังกล่าวแทนการดำเนินการในช่วงการให้บริการและการปฏิบัติงานของบุคลากรหอสมุด (8.30-16.30 น.) (5.3.2-1.1_SUP)GO-5.3.2-1 SUP กำหนดมาตรการรองรับเพื่อจัดการเสียงดังที่เกิดจากการก่อสร้าง ปรับปรุงอาคาร

GO-5.3.2-2 SUP ปฏิบัติตามมาตรการที่ได้กำหนดใน ข้อ (1) แนวทางการกำหนดมาตรการมีดังนี้

5.4 ความน่าอยู่

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน
5.4.1 มีการวางแผนจัดการความน่า อยู่ของสำนักงานโดยจะต้องดำเนินการ ดังนี้

(1) จัดทำแผนผังของสำนักงานทั้งในตัวอาคารและนอกอาคาร โดยจะต้องกำหนดพื้นที่ใช้งานอย่างชัดเจน เช่น พื้น่พักผ่อนหย่อนใจ พื้นที่สีเขียว พื้นที่ส่วนรวม และพื้นที่ทำงาน เป็น ต้น สามารถสื่อสารด้วยป้ายหรือ อื่นๆ ที่เหมาะสมเพื่อบ่งชี้

(2) มีการกำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบอย่างเหมาะสมทั้งพื้นที่เฉพาะและพื้นที่ทั่วไป ทั้งในอาคารและนอกอาคาร

(3) มีการกำหนดเวลาในการดูแลรักษา ความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อย ทั้งพื้นที่เฉพาะและพื้นที่ทั่วไป ทั้งในอาคารและนอกอาคาร

(4) การกำหนดแผนงานการเพิ่มพื้นที่สีเขียว และคงรักษาไว้ของสำนักงาน รวมไปถึงมีการปฏิบัติจริงตามแผนงาน
ฝ่ายหอสมุดฯ (5.4.1-1.1_SUP) มีการวางแผนจัดการความน่าอยู่ของสำนักงาน โดยมีการจัดทำแผนผังของสำนักงานทั้งในตัวอาคารและนอกอาคารโดยกำหนดพื้นที่ใช้งานอย่างชัดเจน เช่น พื้นที่พักผ่อนหย่อนใจ พื้นที่สีเขียว พื้นที่ส่วนรวม พื้นที่ทำงาน และพื้นที่บริการ มีการจัดทำป้าย มีการกำหนดความรับผิดชอบ อย่างเหมาะสมทั้งพื้นที่เฉพาะ และพื้นที่ทั่วไปทั้งในอาคารและนอกอาคาร มีการกำหนดเวลาในการดูแลรักษา ความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อย ทั้งพื้นที่เฉพาะและพื้นที่ทั่วไป มีการกำหนดแผนงานการเพิ่มพื้นที่สีเขียว และคงรักษาไว้ของสำนักงาน รวมถึงมีการปฏิบัติงานจริงGO-5.4.1-1 SUP จัดทำแผนผังของสำนักงานทั้งในตัวอาคารและนอกอาคาร โดยจะต้องกำหนดพื้นที่ใช้งานอย่างชัดเจน เช่น พื้น่พักผ่อนหย่อนใจ พื้นที่สีเขียว พื้นที่ส่วนรวม และพื้นที่ทำงาน เป็น ต้น สามารถสื่อสารด้วยป้ายหรือ อื่นๆ ที่เหมาะสมเพื่อบ่งชี้

GO-5.4.1-2 SUP มีการกำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบอย่างเหมาะสมทั้งพื้นที่เฉพาะและพื้นที่ทั่วไป ทั้งในอาคารและนอกอาคาร

GO-5.4.1-3 SUP มีการกำหนดเวลาในการดูแลรักษา ความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อย ทั้งพื้นที่เฉพาะและพื้นที่ทั่วไป ทั้งในอาคารและนอกอาคาร

GO-5.4.1-4 SUP การกำหนดแผนงานการเพิ่มพื้นที่สีเขียว และคงรักษาไว้ของสำนักงาน รวมไปถึงมีการปฏิบัติจริงตามแผนงาน

5.4.2 ร้อยละการใช้สอยพื้นที่เป็นไป ตามวัตถุประสงค์ที่สำนักงานกำหนดฝ่ายหอสมุดฯ มีการใช้สอยและพื้นที่ต่าง ๆ ตามวัตถุประสงค์ที่สำนักงานกำหนดร้อยละ 100 (5.4.2-1.1_SUP)GO-5.4.2 SUP ร้อยละการใช้สอยพื้นที่เป็นไป ตามวัตถุประสงค์ที่สำนักงานกำหนด

5.4.3 ร้อยละการดูแลบำรุงรักษา พื้นที่ต่าง ๆ เช่น พื้นที่สีเขียว พื้นที่ พักผ่อนหย่อนใจ พื้นที่ส่วนกลาง และพื้นที่ทำงาน เป็นต้น
ฝ่ายหอสมุดฯ มีการกำหนดแผนการดูแล บำรุงรักษาพื้นที่ต่าง ๆ ภายในหน่วยงานให้กับบุคลากร ร้อยละ 100 โดยกำหนดให้บุคลากรประจำชั้นในพื้นที่ และพนักงานอาคารสถานที่เป็นผู้รับผิดชอบดูแลตามแผนการดูแลพื้นที่สำนักงาน การดูแลบำรุงรักษาพื้นที่ต่าง ๆ เช่น พื้นที่สีเขียว พื้นที่พักผ่อนหย่อนใจ พื้นที่ส่วนกลาง และพื้นที่ทำงาน ตามมาตรการเพิ่มพื้นที่สีเขียว (5.4.3-1.1_SUP)GO-5.4.3 SUP ร้อยละการดูแลบำรุงรักษา พื้นที่ต่าง ๆ เช่น พื้นที่สีเขียว พื้นที่ พักผ่อนหย่อนใจ พื้นที่ส่วนกลาง และพื้นที่ทำงาน เป็นต้น
5.4.4 มีการควบคุมสัตว์พาหะนำโรค และดำเนินการได้ตามที่กำหนด

(1) มีการกำหนดแนวทางการป้องกันสัตว์พาหะนำโรคในสำนักงานอย่างเหมาะสม ได้แก่ นกพิราบ หนู แมลงสาบ และอื่นๆ

(2) มีการกำหนดความถี่ในการตรวจสอบร่องรอยสัตว์พาหะนำโรค อย่างน้อยที่สุดเดือนละ 1 ครั้ง

(3) มีการตรวจสอบร่องรอยตามความถี่ที่ได้กำหนด (เฉพาะตอนกลางวัน)

(4) มีแนวทางที่เหมาะสมกับการจัดการเมื่อพบร่องรอยสัตว์พาหะนำโรค

(5) ไม่พบร่องรอยหรือสัตว์พาหะนำโรคในระหว่างการตรวจประเมิน
ฝ่ายหอสมุดฯ มีการกำหนดแนวทางในการป้องกันและกำจัดสัตว์พาหะนำโรค โดยกำหนดเป็นแผนควบคุมสัตว์พาหะนำโรค ประจำปี พ.ศ 2567 (5.4.4-1.1_SUP) ซึ่งมอบหมายผู้รับผิดชอบในการป้องกันและกำจัด ตามแผน (5.4.4-2.1_SUP) พร้อมทั้งจัดทำแบบฟอร์มตรวจสอบร่องรอยของสัตว์พาหะนำโรคทุกเดือน (5.4.4-3.1_SUP)

จากการตรวจสอบไม่พบสัตว์พาหะนำโรค แต่ฝ่ายหอสมุดฯ ได้มีแนวทางที่เหมาะสมกับการจัดการเมื่อพบร่องรอยสัตว์พาหะนำโรค ดังนี้

1. ปลวก ประสานบริษัทกำจัดโดยใช้น้ำยาที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

2. หนู กำจัดหนูโดยใช้กับดัก และนำไปปล่อยกับคืนสู่ธรรมชาติ

3. นก ทำความสะอาดมูลนกโดยการกวาด/ใช้น้ำฉีด (5.4.4-4.1_SUP)
GO-5.4.4-1-5 SUP มีการควบคุมสัตว์พาหะนำโรค และดำเนินการได้ตามที่กำหนด

5.5 การเตรียมพร้อมต่อสภาวะฉุกเฉิน

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน
5.5.1 การอบรมฝึกซ้อมดับเพลิงและอพยพหนีไฟตามแผนที่กำหนด

(1) มีการกำหนดแผนการฝึกอบรมและ อพยพหนีไฟ

(2) จำนวนคนเข้าอบรมฝึกซ้อมดับเพลิง ขั้นต้นจะต้องไม่ต่ำกว่าร้อยละ 40 ของพนักงานแต่ละแผนกหรือส่วนงาน

(3) พนักงานทุกคนจะต้องเข้าฝึกซ้อม อพยพหนีไฟ อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง (พิจารณาพนักงานหรือผูปฏิบัติงาน ทุกคนที่อยู่ประจำพื้นที่สำนักงานที่มี การฝึกซ้อมเท่านั้น) (4) มีการอบรมดับเพลิงขั้นต้นตามแผนที่กำหนด พร้อมแสดงหลักฐาน เช่น ใบรับรองการอบรม ภาพถ่าย เป็นต้น

(5) มีการฝึกซ้อมอพยพตามแผนที่กำหนด พร้อมแสดงหลักฐาน เช่น ใบรับรอง ภาพถ่าย เป็นต้น

(6) มีการกำหนดจุดรวมพลที่สามารถรองรับได้ พร้อมมีป้ายแสดงอย่าง ชัดเจน

(7) มีการกำหนดเส้นทางหนีไฟ ธงนำ ทางหนีไฟ ไปยังจุดรวมพล พร้อมสื่อสารในพื้นที่ปฏิบัติงาน

(8) มีการกำหนดทางออกฉุกเฉิน ทางหนีไฟ พร้อมมีป้ายแสดงอย่าง ชัดเจน
ฝ่ายหอสมุดฯ มีการจัดทำแผนฝึกอบรมประจำปี 2567 เพื่อเตรียมความพร้อมสำหรับระงับเหตุฉุกเฉินต่าง ๆ ที่อาจจะเกิดขึ้น เพื่อเตรียมพร้อมต่อสภาวะฉุกเฉิน เมื่อวันที่วันที่ วันที่ 17 มิถุนายน 2567 (5.5.1-1.1_SUP) ร่วมกับสำนักหอสมุดกลาง และกองงานวิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี ทั้งกิจกรรมซ้อมหนีไฟ การปฐมพยาบาลเบื้องต้น และการใช้อุปกรณ์ช่วยชีวิต GO-5.5.1-1-6 SUP การอบรมฝึกซ้อมดับเพลิงและอพยพหนีไฟตามแผนที่กำหนด

GO-5.5.1-7-8 SUP มีการกำหนดเส้นทางหนีไฟ ธงนำ ทางหนีไฟ ไปยังจุดรวมพล พร้อมสื่อสารในพื้นที่ปฏิบัติงาน มีการกำหนดทางออกฉุกเฉิน ทางหนีไฟ พร้อมมีป้ายแสดงอย่าง ชัดเจน
5.5.2 มีแผนฉุกเฉินที่เป็นปัจจุบันและเหมาะสม และร้อยละของพนักงานที่เข้าใจแผนฉุกเฉิน (สุ่มสอบถามอย่างน้อย 4 คน)ฝ่ายหอสมุดฯ ได้จัดทำแผนระงับเหตุฉุกเฉินเพื่อป้องกันและเตรียมพร้อมต่อการเกิดเหตุฉุกเฉินต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้น (5.5.2-1.1_SUP)GO-5.5.2 SUP มีแผนฉุกเฉินที่เป็นปัจจุบันและเหมาะสม และร้อยละของพนักงานที่เข้าใจแผนฉุกเฉิน (สุ่มสอบถามอย่างน้อย 4 คน)
5.5.3 ความเพียงพอและการพร้อมใช้งานของอุปกรณ์ระบบดับเพลิงและป้องกันอัคคีภัย และระบบสัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้ และร้อยละของพนักงาน ทราบวิธีการใช้และตรวจสอบอุปกรณ์ ดังกล่าว (สุ่มสอบถามอย่างน้อย 4 คน)

(1) มีการติดตั้งและเตรียมอุปกรณ์ดับเพลิง

– ถังดับเพลิงมีเพียงพอต่อการใช้งาน (กำหนดระยะห่าง อย่างน้อย 20 เมตร/ถัง ตามกฎหมาย ติดตั้งสูงจากพื้นไม่เกิน 150 เซนติเมตรนับ จากคันบีบ และถ้าเป็นวางกับพื้น จะต้องมีฐานรองรับ) พร้อมกับติด ป้ายแสดง

– ติดตั้งระบบเครื่องสูบน้ำดับเพลิง (ถ้ามี)

– สายฉีดน้ำดับเพลิงและตู้เก็บสาย ฉีด (Hose and Hose Station) (ถ้ามี)

(2) ติดตั้งระบบสัญญาณแจ้งเตือนและต้องพร้อมใช้งาน

– สัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้ (พื้นที่มากกว่า 300 ตารางเมตรหรืออาคารสูงเกิน 2 ชั้นขึ้นไป)

– ติดตั้งตัวดักจับควัน (smoke detector) หรือตัวตรวจจับความร้อน (heat detector)

(3) มีการตรวจสอบข้อ (1) – (2) และ หากพบว่าชำรุดจะต้องดำเนินการ แจ้งซ่อมและแก้ไข

(4) พนักงานจะต้องเข้าใจถึงวิธีการใช้ และตรวจสอบอุปกรณ์ดับเพลิงและ สัญญาณแจ้งเตือน อย่างน้อยร้อยละ 75 จากที่สุ่มสอบถาม

(5) ไม่มีสิ่งกีดขวางอุปกรณ์ดับเพลิง และสัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้
ฝ่ายหอสมุดฯ ติดตั้งอุปกรณ์สำหรับป้องกันเหตุฉุกเฉินด้านอัคคีภัย ได้แก่

1. ถังดับเพลิงชนิดผงเคมีแห้ง ติดตั้งภายในอาคาร จำนวน x ถัง (5.5.3-1.1_SUP)

2. ระบบสัญญาณแจ้งเตือน

2.1 สัญญาณแจ้งเหตุฉุกเฉินจำนวน 1 ระบบ (5.5.3-2.1_SUP)

2.2 เครื่องตรวจจับควันจำนวน 1 ระบบ (5.5.3-2.2_SUP)

3. โดยอุปกรณ์ต่าง ๆ ได้มีการตรวจเช็คเพื่อเตรียมความพร้อมใช้ ทุก 2 เดือน ลงในแบบฟอร์มบันทึกการตรวจอุปกรณ์ด้านอัคคีภัย (5.5.3-3.1_SUP) โดยมอบหมายให้นาย มีหน้าที่รับผิดชอบตรวจสอบอุปกรณ์

4. บุคลากรของฝ่ายหอสมุดฯ ผ่านการอบรมดับเพลิงเบื้องต้น รวมถึงสามารถใช้อุปกรณ์ป้องกันการเกิดอัคคีภัยได้ (5.5.3-4.1_SUP)

5. มีการตรวจเช็คสิ่งกีดขวางการเข้าถึงอุปกรณ์ป้องกันอัคคีภัย ตามแบบฟอร์มการตรวจอุปกรณ์ป้องกันอัคคีภัย (5.5.3-5.1_SUP)
GO-5.5.3-1-5 SUP ความเพียงพอและการพร้อมใช้งานของอุปกรณ์ระบบดับเพลิงและป้องกันอัคคีภัย และระบบสัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้ และร้อยละของพนักงาน ทราบวิธีการใช้และตรวจสอบอุปกรณ์ ดังกล่าว (สุ่มสอบถามอย่างน้อย 4 คน)

6.1 การจัดซื้อสินค้า

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน
6.1.1 การจัดซื้อสินค้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

(1) กำหนดผู้รับผิดชอบ และมีความเข้าใจ

(2) ค้นหารายการสินค้าที่เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม และสามารถระบุแหล่งข้อมูลสืบค้นได้

(3) จัดทำบัญชีรายชื่อสินค้าที่เป็นมิตร กับสิ่งแวดล้อมที่สอดคล้องกับสินค้า ที่ใช้จริงในสำนักงาน โดยจะต้องระบุรายการสินค้า ยี่ห้อ ฉลากสิ่งแวดล้อม วันหมดอายุการรับรอง ของสินค้านั้น หากเป็นฉลาก สิ่งแวดล้อมของต่างประเทศจะต้อง อ้างอิงหน่วยงาน/ประเทศที่ให้การ รับรองนั้น ๆ ด้วย

(4) แจ้งไปยังผู้ขายเพื่อขอความร่วมมือในการสั่งซื้อสินค้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม กรณีที่ไม่มีร้านค้าที่จำหน่ายสินค้าทีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
สำนักหอสมุดกลางฯ มีการแต่งตั้งคณะกรรมการตามเกณฑ์หมวดที่ 6 การจัดซื้อและจัดจ้าง โดยเป็นผู้ที่มีความรู้ ความสามารถในการปฏิบัติงานด้านการจัดซื้อและการจัดจ้าง ตามคำสั่งสำนักหอสมุกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร ที่ 0027/2567 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียว สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร สั่ง ณ วันที่ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2567 (GO-6.1.1-1 หน้า 13)

นอกจากนี้สำนักหอสมุดกลางฯ ได้จัดทำประกาศสำนักหอสมุดกลางฯ เรื่อง นโยบายการพัฒนาสำนักหอสมุดกลางสู่ห้องสมุดสีเขียว (SU Green Library) ณ วันที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2566 (GO-6.1.1-2) และประกาศมาตรการประหยัดพลังงานและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ณ วันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2566 (GO-6.1.1-3)

สำนักหอสมุดกลางฯ ได้ดำเนินการรวบรวมแหล่งข้อมูลที่สืบค้น เพื่อเป็นแนวทางในการจัดซื้อสินค้าที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ตามแบบรายการสินค้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและแหล่งสืบค้นได้ (GO-6.1.1-4) ได้ดำเนินการจัดซื้อสินค้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมได้จริง จำนวน 12 รายการ แบบบัญชีรายชื่อสินค้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมที่สอดคล้องกับสินค้าที่ใช้จริงในสำนักงาน (GO-6.1.1-5) ทั้งนี้ได้ทำหนังสือเพื่อขอความร่วมมือผู้ขายในการจัดหาสินค้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ไปถึงร้านค้า จำนวน 5 แห่ง (GO-6.1.1-6)
GO-6.1.1-1 คำสั่งคณะกรรมการห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียว

GO-6.1.1-2 ประกาศ-นโยบายการพัฒนาสำนักหอสมุดกลางฯ

GO-6.1.1-3 ประกาศ-มาตรการประหยัดพลังงานฯ.pdf

GO-6.1.1-4 แบบรายการสินค้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมฯ

GO-6.1.1-5 แบบบัญชีรายชื่อสินค้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมที่ใช้ในสำนักงาน

GO-6.1.1-6 หนังสือขอความอนุเคราะห์ร้านค้า จำนวน 5 ร้าน

6.1.2 ร้อยละของการจัดซื้อสินค้าประเภทวัสดุอุปกรณ์ในสำนักงานที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม การดำเนินงานในปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 ได้รวบรวมข้อมูลการจัดซื้อตั้งแต่ มกราคม – ธันวาคม 2567 มีสินค้าทั้งหมด 31 ชิ้น มีรายการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมรวมทั้งหมด 9 รายการ คิดเป็นร้อยละ 83.15 (GO-6.1.2-1)GO-6.1.2-1 ร้อยละของสินค้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเทียบกับปริมาณ

6.1.3 ร้อยละของปริมาณและประเภท ของวัสดุอุปกรณ์ในสำนักงานที่เป็นมิตร กับสิ่งแวดล้อม
มีการคำนวณร้อยละของปริมาณสินค้าที่ได้ดำเนินการจัดซื้อมาใช้จริงในสำนักงาน เช่น สินค้าที่ได้รับตะกร้าสีเขียว สินค้าที่ประหยัดพลังงาน Energy stay และสินค้าที่นำกลับมาใช้ใหม่ เป็นต้น เป็นร้อยละของสินค้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเทียบกับปริมาณและมูลค่าการจัดซื้อ 71.25 (GO-6.1.3-2)GO-6.1.3-1 ร้อยละของสินค้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเทียบกับมูลค่าสินค้า

GO-6.1.3-2 แบบรายงานผลการจัดซื้อจัดจ้างฯ

6.2 การจัดจ้าง

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน
6.2.1 ร้อยละของการจัดจ้าง หน่วยงานหรือบุคคลที่มีการดำเนินงาน ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

(1) มีหลักฐานการพิจารณาถึงมาตรฐานด้านสิ่งแวดล้อมของหน่วยงานที่ได้การรับรองโดยจะต้องแสดงหลักฐาน การรับรองดังกล่าว

(2) หากหน่วยงานไม่มีมาตรฐานด้านสิ่งแวดล้อมรับรอง ทางสำนักงานจะต้องทำการประเมินด้านสิ่งแวดล้อมของหน่วยงานเบื้องต้น

(3) มีการจัดทำสัญญาหรือข้อตกลงด้าน สิ่งแวดล้อมเมื่อเข้ามาปฏิบัติงานใน สำนักงาน

(4) หน่วยงานหรือบุคคลที่ได้รับคัดเลือก จะต้องได้รับการอบรมหรือสื่อสารเกี่ยวกับสำนักงานสีเขียว และ แนวทางการจัดการสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมของตนเอง

(5) หน่วยงานหรือบุคคลเหล่านั้นสามารถอธิบายแนวทางในการจัดการสิ่งแวดล้อม ที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมของตนเองได้
มีการดำเนินจัดจ้างที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมทั้งที่ผ่านเกณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและไม่ผ่านเกณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม จำนวน 3 งาน (GO-6.2.1-1) ในกรณีที่จัดจ้างไม่มีมาตราฐานด้านสิ่งแวดล้อมรับรอง ทางสำนักหอสมุดกลางฯ ได้ดำเนินการทำแบบใบอนุญาตปฏิบัติงานและข้อตกลงด้านสิ่งแวดล้อม ในการเข้าปฏิบัติงาน (GO-6.2.1-2) พร้อมทั้งต้องประเมินประสิทธิภาพของผู้รับจ้าง/ผู้รับเหมาก่อสร้าง (GO-6.2.1-3) และเมื่อมีการทำสัญญาหรือข้อตกลง ทางสำนักหอสมุดกลางฯ ทำสัญญาหรือข้อตกลงด้านสิ่งแวดล้อมกับผู้รับจ้าง (GO-6.2.1-4) และอธิบายทำความเข้าใจให้กับผู้รับจ้างได้ทำปฏิบัติตามข้อตกลง (GO-6.2.1-5)GO-6.2.1-1 แบบรายงานผลการจัดจ้างที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมฯ

GO-6.2.1-2 แบบใบอนุญาตปฏิบัติงานและข้อตกลงด้านสิ่งแวดล้อม

GO-6.2.1-3 แบบประเมินประสิทธิภาพของผู้รับจ้าง

GO-6.2.1-4 สัญญาข้อตกลงด้านสิ่งแวดล้อมกับผู้รับจ้าง

GO-6.2.1-5 ภาพประกอบการสื่่อสารและความร่วมมือนอกหน่วยงาน
6.2.2 ร้อยละของการตรวจสอบด้าน การดูแลสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ปฏิบัติงาน ของหน่วยงานหรือบุคคลที่เข้ามา ดำเนินการ เช่น ผู้รับจ้าง ผู้รับจ้างช่วง แม่บ้าน รปภ. พนักงานส่งเอกสาร เป็นต้น ดำเนินการประเมินประสิทธิภาพของผู้รับจ้างที่เข้ามาดำเนินการภายในสำนักงาน เพื่อตรวจสอบด้านการดูแลสิ่งแวดล้อม การป้องกันมลพิษ การใช้วัสดุที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ความร่วมมือของผู้รับจ้างในการคำนึงถึงสิ่งแวดล้อมทั้งการขนย้ายขยะจากการประเมินผ่านเกณฑ์ 70% GO-6.2.2-1 แบบประเมินประสิทธิภาพของผู้รับจ้าง
6.2.3 ร้อยละของการเลือกใช้บริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (นอกสำนักงาน) ได้แก่ โรงแรม สถานที่จัดงาน หรืออื่น ๆ ที่ได้มีการขึ้นทะเบียนการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม มีการจัดประชุม/สัมมนา นอกสถานที่ 1 ครั้ง ซึ่งทำแบบคัดเลือกสถานที่ใช้บริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (นอกสำนักงาน) เพื่อประเมินสถานที่ใช้บริการมีความเหมาะสมและคำนึงถึงความเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (6.2.3-1) และเมื่อมีการจัดสัมมนา/ประชุมต่างๆ สามารถสืบค้นสถานที่พักจากแหล่งสืบค้นโรงแรมที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (6.2.3-2)สำนักหอสมุดกลางมีแนวปฏิบัติในการไปจัดประชุมนอกสถานที่ (6.2.3-3) แนวปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้ห้องประชุมของสำนักฯ เพื่อขอความร่วมมือให้ใช้วัสดุที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม คำนึงถึงการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและพลังงาน ลดการก่อให้เกิดมลพิษ (6.2.3-4)และมาตรการควบคุมการปฏิบัติงานของผู้รับจ้าง ผู้รับเหมา ด้สนสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัยของสำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร (6.2.3-5)GO-6.2.3-1 แบบคัดเลือกสถานที่ใช้บริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม-นอกสำนักงาน

GO-6.2.3-2 แหล่งการสืบค้นโรงแรมที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

GO-6.2.3-3 แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับกรณีที่ต้องไปจัดประชุม.อบรม.สัมมนา.หรือกิจกรรมฯ

GO-6.2.3-4 แนวปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดประชุมและการจัดนิทรรศการ

GO-6.2.3-5 มาตรการควบคุมการปฏิบัติงานของผู้รับจ้าง ผู้รับเหมา ด้านสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัยของสำนักหอสมุดกลาง-มหาวิทยาลัยศิลปากร

Edit Template

Green Logo
Click to rate this post!
[Total: 1 Average: 5]

ข้อมูลนี้มีประโยชน์หรือไม่

Thanks for your feedback!