Direction

ปรัชญา (Philosophy)
มุ่งมั่นเป็นแหล่งรวบรวม จัดเก็บและให้บริการทรัพยากรสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพแก่ผู้ใช้

ปณิธาน (Determination)
สนับสนุนและส่งเสริมคุณภาพการเรียน การสอน การวิจัย การบริการทางวิชาการ แก่สังคมและการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม อันเป็นพันธกิจหลักของมหาวิทยาลัยศิลปากร

วิสัยทัศน์ (Vision)
Creative Learning Ecosystem ศูนย์รวมองค์ความรู้และแหล่งเรียนรู้สร้างสรรค์ มุ่งส่งมอบการบริการที่เป็นเลิศ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน

ค่านิยมหลัก (Corporate value)

วิสัยทัศน์ผู้อำนวยการสำนักหอสมุดกลาง พ.ศ. 2567-2570 คือ "ศูนย์รวมองค์ความรู้และแหล่งเรียนรู้สร้างสรรค์ มุ่งส่งมอบการบริการที่เป็นเลิศ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน" โดยมีกรอบกลยุทธ์ในการดำเนินงานคือ Creative Learning Ecosystem

S

Service mind มีจิตบริการ

U

 Unity มีความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน

L

Learning ส่งเสริมการเรียนรู้

I

Inspiration แสวงหาแรงบันดาลใจเพื่อการสร้างสรรค์

B

Borderless เปิดรับ เปิดกว้าง อย่าง
ไร้ขอบเขต

พันธกิจ (Mission)

จัดหาทรัพยากรสารสนเทศ รูปแบบต่าง ๆ และเทคโนโลยีทางการศึกษาที่ตอบสนองการเรียน การสอน การวิจัย และการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ด้านต่าง ๆ

จัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ องค์ความรู้รูปแบบต่างๆและทรัพยากรที่มีคุณค่าต่าง ๆ อย่างเป็นระบบ

การให้บริการทรัพยากรสารสนเทศ เทคโนโลยีทางการศึกษาและวิจัย องค์ความรู้รูปแบบต่าง ๆ ตลอดจนพื้นที่เรียนรู้ สิ่งอำนวยความสะดวกขั้นพื้นฐาน และการบริการรูปแบบอื่น ๆ ของห้องสมุด

แผนพัฒนาสำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร พ.ศ. ๒๕๖๗-๒๕๗๐

การจัดทำแผนพัฒนาสำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร พ.ศ. ๒๕๖๗-๒๕๗๐ มีวัตถุประสงค์ ดังต่อไปนี้

เป็นศูนย์รวมทรัพยากรสารสนเทศเพื่อการศึกษาและวิจัย คลังปัญญา คลังข้อมูล คลังสะสม และองค์ความรู้ที่มีความสำคัญของมหาวิทยาลัย และความสำคัญระดับชาติ

เป็นห้องสมุดที่มีชีวิต (Living Library) พื้นที่เรียนรู้สร้างสรรค์เพื่อส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong Learning)

เป็น Smart Library

ผ่านการรับรองคุณภาพ Green Library ภายในปี ๒๕๖๙

ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด

เพื่อผลักดันวิสัยทัศน์ พันธกิจของสำนักหอสมุดกลางให้บรรลุผลสำเร็จ
สำนักหอสมุดกลางจึงกำหนดประเด็นยุทธศาสตร์เพื่อการแปลงแผนสู่การปฏิบัติ โดยจำแนกประเด็นยุทธศาสตร์ ๔ ด้าน ดังนี้

ผลลัพธ์การดำเนินงานตามตัวชี้วัดของสำนักหอสมุดกลาง


1. ยุทธศาสตร์ปีงบประมาณ 2567-2570

ตัวชี้วัดตามยุทธศาสตร์/นโยบาย/เป้าประสงค์
หน่วยวัด
เป้าหมายปีงบประมาณ 2567
ผลการดำเนินงาน 
รอบการประเมิน KPIs ครั้งที่ 1
ผลการดำเนินงาน 
ตามปี EdPEx
ผลการดำเนินงาน 
รอบการประเมิน KPIs ครั้งที่ 2
ยุทธศาสตร์ที่ 1: Knowledge Sharing Centre
ศูนย์รวมทรัพยากรสารสนเทศเพื่อการศึกษาและวิจัย คลังปัญญา คลังข้อมูล คลังสะสม และองค์ความรู้ที่มีความสำคัญของมหาวิทยาลัย และความสำคัญระดับชาติ เพื่อสนับสนุนการศึกษา การวิจัย และการเรียนรู้ เพื่อประโยชน์ทั้งผู้ใช้ภายในและสังคมภายนอก
กลยุทธ์ที่ 1.1: การบริหารจัดการทรัพยากรสารสนเทศ และองค์ความรู้อย่างเป็นระบบ
ผ่าน/ไม่ผ่านตามมาตรฐานห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ. 2544 ผ่าน/ไม่ผ่าน ผ่าน - - -
ร้อยละการเข้าถึงคลังปัญญาของมหาวิทยาลัยศิลปากรที่เพิ่มขึ้นจาก baseline ต่อปี ร้อยละ  5 - - -
จำนวนระเบียน ที่นำเข้าสู่คลังปัญญาของ มหาวิทยาลัยศิลปากร (ระเบียน/ปี) ระเบียน  600 - - -
จำนวนฐานข้อมูลใน SU Digital Collection ที่พัฒนาขึ้นใหม่ หรือเพิ่มและปรับปรุงเนื้อหา** (นับต่อเนื่อง) Collection 2 - - -
ร้อยละการเข้าถึง SU Digital Collection (ครั้ง/ปี) ร้อยละ - - - -
ภาพรวมของความพึงพอใจในด้านการให้บริการห้องสมุดดิจิทัลที่มีฐานข้อมูลทันสมัยและเพียงพอต่อความต้องการ ระดับความพึงพอใจ  4.3 - - -
กลยุทธ์ที่ 1.2: การเชื่อมโยงทรัพยากรสารสนเทศ ผ่านการประสานเครือข่ายความร่วมมือภายนอกองค์กร
จำนวนความร่วมมือที่ดำเนินการร่วมกับหน่วยงานภายนอกเพื่อเชื่อมโยงแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ และการเข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศ (Active Partners) หน่วยงาน/โครงการ/กิจกรรม 2 - - -
ระดับความพึงพอใจในด้านทรัพยากรสารสนเทศที่เกิดจากความร่วมมือกับหน่วยงานภายนอก ระดับความพึงพอใจ >4.0 - - -
กลยุทธ์ที่ 1.3: การส่งเสริมการเข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศในรูปแบบ Physical และ Digital (Phygital)
ร้อยละการเข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศประเภทตัวเล่ม ที่สำนักฯ จัดหาของปีงบประมาณที่ผ่านมา (ร้อยละ) ร้อยละ 75 - - -
จำนวนทรัพยากรฯ (ตัวเล่ม) ที่จัดหาในแต่ละปี มีการใช้ซ้ำ ครั้ง  1,000 - - -
จำนวนทรัพยากรฯ (ตัวเล่ม) ที่จัดหาในแต่ละปี มีการใช้ภายในห้องสมุด (in-house) ร้อยละ  10,000 - - -
ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของการเข้าถึงทรัพยากรฯ ประเภทดิจิทัล ที่สำนักฯ บอกรับจาก Baseline ต่อปี ร้อยละ 2 - - -
กลยุทธ์ที่ 1.4: การพัฒนาและเผยแพร่องค์ความรู้ผ่าน Digital Platform
ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของยอดการเข้าถึงเนื้อหาองค์ความรู้ หรือข่าวสาร (Digital Content) จาก Baseline เดิม ร้อยละ 5 - - -
ระดับความพึงพอใจที่มีต่อการเข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศประเภทดิจิทัล และเนื้อหาองค์ความรู้ ข่าวสาร Digital Content ระดับความพึงพอใจ  4.0 - - -
ร้อยละของการมีส่วนร่วมของ Customer Engagement ร้อยละ 5 - - -
ยุทธศาสตร์ที่ 2: LIFEBRARY : Life + Library
การพัฒนาให้เป็นห้องสมุดที่มีชีวิต (Living Library) พื้นที่เรียนรู้สร้างสรรค์เพื่อส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong Learning) ให้แก่ผู้ใช้ภายในและสังคมภายนอก
กลยุทธ์ที่ 2.1: การสร้างกระบวนการเรียนรู้ และกระบวนการสร้างสรรค์ร่วมกัน (Co Learning & Co Creation) กับคณะวิชา และหน่วยงานภายนอก
จำนวนโครงการ/กิจกรรมแลกเปลี่ยนองค์ความรู้สร้างสรรค์ด้านต่าง ๆ ในรูปแบบนิทรรศการ เสวนา การแสดง กิจกรรม และอื่น ๆ โครงการ / กิจกรรม / หลักสูตร / องค์ความรู้ 6 - - -
ระดับความพึงพอใจที่มีต่อการจัดโครงการ / กิจกรรมแลกเปลี่ยนองค์ความรู้เชิงสร้างสรรค์ด้านต่าง ๆ ระดับความพึงพอใจ  4.0 - - -
ระดับความพึงพอใจที่มีต่อการได้รับประโยชน์จากการเข้าร่วมโครงการ / กิจกรรม ต่าง ๆ ระดับความพึงพอใจ  4.0 - - -
กลยุทธ์ที่ 2.2: การปรับปรุงพื้นที่กายภาพให้สอดคล้องกับแนวคิด Creative Learning Commons
จำนวนโครงการพัฒนาพื้นที่การเรียนรู้ หรือโครงการพัฒนาพื้นที่เพื่อส่งเสริมการ (นับต่อเนื่อง) โครงการ 4 - - -
ร้อยละของความสำเร็จตามแผนพัฒนาปรับปรุงพื้นที่กายภาพหอสมุดพระราชวังสนามจันทร์ (Living Library) ร้อยละ 50 - - -
ร้อยละของความสำเร็จตามแผน พัฒนาพื้นที่จัดเก็บทรัพยากรทรงคุณค่าเพื่อการศึกษา (Visible Storage) ร้อยละ 50 - - -
ร้อยละของความสำเร็จตามแผน พัฒนาจัดทำเนื้อหาและพื้นที่จัดแสดงงานจดหมายเหตุฯ ร้อยละ 25 - - -
กลยุทธ์ที่ 2.3: การส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต Lifelong Learning ตอบช่วงวัยที่หลากหลาย
จำนวนโครงการ/กิจกรรมเผยแพร่องค์ความรู้สู่ชวงวัยที่หลากหลายในรูปแบบต่าง ๆ (Lifelong Learning) โครงการ 2 - - -
ระดับความพึงพอใจและการได้รับประโยชน์จากการใช้พื้นที่ห้องสมุดในการจัดโครงการ Lifelong Learning ระดับความพึงพอใจ  4.0 - - -
จำนวนเนื้อหา Digital Content ที่เผยแพร่ รายการ 9 - - -
ระดับความพึงพอใจที่มีต่อเผยแพร่องค์ความรู้และการประชาสัมพันธ์เนื้อหา Digital ระดับความพึงพอใจ  4.0 - - -
ยุทธศาสตร์ที่ 3: Smart Library
การพัฒนาห้องสมุดไปสู่ Smart Library โดยใช้การออกแบบการให้บริการ (Service Design) และการสนับสนุนด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Technology) เอื้อประโยชน์ให้ผู้ใช้ได้รับบริการที่สร้างความประทับใจ (บรรลุผลการประเมินภาพรวมความพึงพอใจอยู่ในระดับดีขึ้นไป)
กลยุทธ์ที่ 3.1: การให้บริการด้วยแนวคิดความใส่ใจ (Omotenashi) ในทุกมิติงานบริการห้องสมุด และการพัฒนาสู่นวัตกรรมการให้บริการ
จำนวนผลงาน/โครงการพัฒนาการใหบริการด้วยความใส่ใจ ที่สงเสริมการให้เกิดการเข้าถึงทรัพยากร, องค์ความรู้ หรือพื้นที่เรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ (Seamless & Smart Service) ระบบ / เครื่องมือ/ โครงการ 2 - - -
ระดับความพึงพอใจที่มีต่อผลงาน/โครงการที่พัฒนาการให้บริการด้วยความใส่ใจ ระดับความพึงพอใจ  4.3 - - -
กลยุทธ์ที่ 3.2: การให้บริการมุ่งเน้นส่งเสริมการศึกษาและวิจัย
จำนวนโครงการ/กิจกรรมบริการที่ส่งเสริมการศึกษา การค้นคว้าวิจัย (Research Service) โครงการ / กิจกรรม 2 - - -
ร้อยละของผู้รับบริการ Research Service ที่เพิ่มขึ้นจาก baseline เดิม ร้อยละ 5 - - -
ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บริการมีต่อการใช้งาน Research Service ระดับความพึงพอใจ  4.3 - - -
จำนวนโครงการ/กิจกรรม ในการพัฒนาการบริการเพื่อรองรับความเป็นนานาชาติของ มศก. และกลุ่มผู้ใช้ต่างชาติ โครงการ / กิจกรรม 2 - - -
ระดับความพึงพอใจที่มีต่อการใช้งาน International corner ระดับความพึงพอใจ  4.3 - - -
ยุทธศาสตร์ที่ 4: Sustainable Library
การพัฒนาองค์กรและพื้นที่เรียนรู้สู่ความยั่งยืน (มิติความยั่งยืนขององค์กรประกอบด้วย การพัฒนาบุคลากร - HRD และ ความยั่งยืนด้านสังคม สิ่งแวดล้อม - GREEN LIBRARY)
กลยุทธ์ที่ 4.1: การพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ความสามารถ (Reskill / Upskill / Mutiple skill) ในกระบวนการทำงานตามพันธกิจ
จำนวนโครงการ/หลักสูตรที่จัดทำหรือจัดหาเพื่อ Reskill Upskill/ Mutiple skill ให้แก่บุคลากรจาก Baseline โครงการ/หลักสูตร  6 - - -
ร้อยละของบุคลากรสำนักฯ ที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพ Reskill / Upskill/ Multiple skills ตามพันธกิจ ร้อยละ 85 - - -
จำนวนองค์ความรู้ที่เกิดจากการพัฒนากระบวนการทำงานผ่านการจัดการองค์ความรู้ (KM) หรือจากการเรียนรู้ผ่านการ Reskill / Upskill/ Multiple skills เรื่อง  4 - - -
ระดับความพึงพอใจของผู้เข้าอบรมในโครงการ / หลักสูตรที่มีการพัฒนาทักษะ Reskill Upskill / Mutiple skills ระดับความพึงพอใจ  4 - - -
กลยุทธ์ที่ 4.2: การสร้างความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม
จำนวนโครงการความร่วมมือในการดำเนินงานและจัดกิจกรรมห้องสมุดสีเขียวกับหน่วยงานภายในและองค์กรภายนอก โครงการ 1 - - -
กลยุทธ์ที่ 4.3: การปลูกฝังจิตสำนึกเรื่องการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อมให้เป็นส่วนหนึ่งของชีวิตประจำวันของบุคลากร และผู้ใช้ห้องสมุด
ร้อยละความสำเร็จตามแผนในกระบวนการสร้างความเข้าใจในการพัฒนาที่ยั่งยืนมิติต่าง ๆ ร้อยละ 30 - - -
จำนวนกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ในกระบวนการสร้างความเข้าใจในการพัฒนาที่ยั่งยืนมิติต่าง ๆ กิจกรรม 2 - - -
กลยุทธ์ที่ 4.4: การบริหารจัดการทรัพยากรให้มีประสิทธิภาพและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
ร้อยละความสำเร็จตามแผนในการกำหนดมาตรการการใช้น้ำ ไฟฟ้า และเชื้อเพลิงให้มีประสิทธิภาพและสร้างความตระหนักในการประหยัดทรัพยากร ร้อยละ 30 - - -
ร้อยละความสำเร็จตามแผนในการกำหนดมาตรการการใช้ทรัพยากรสำนักงานที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมในกระบวนการทำงาน ร้อยละ 30 - - -
ร้อยละความสำเร็จตามแผนในการกำหนดมาตรการในการจัดการขยะให้เป็นไปตามหลักวิชาการ ร้อยละ 30 - - -

2. แผนปฏิบัติการประจำปี (มศก.)

ตัวชี้วัดตามยุทธศาสตร์/นโยบาย/เป้าประสงค์
หน่วยวัด
เป้าหมายปีงบประมาณ 2567
ผลการดำเนินงาน 
รอบการประเมิน KPIs ครั้งที่ 1
ผลการดำเนินงาน 
ตามปี EdPEx
ผลการดำเนินงาน 
รอบการประเมิน KPIs ครั้งที่ 2
ยุทธศาสตร์ที่ 1: เป็นมหาวิทยาลัยชั้นนำที่มีความสร้างสรรค์ เป็นเลิศทางวิชาการและงานวิจัย
กลยุทธ์ที่ 2: สร้างผู้เรียนเพื่อรองรับการเป็นพลเมืองโลก (มศก.)
จำนวนพื้นที่ที่ได้รับการปรับปรุงพัฒนาสำหรับการเป็นแหล่งเรียนรู้ขับเคลื่อนบรรยากาศความเป็นนานาชาติสำหรับนักศึกษา (Online/Onsite) พื้นที่ 1 - - -
ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของการเข้าถึงคลังปัญญาของสำนักหอสมุดกลาง ร้อยละ 5.0 - - -
คะแนนความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุดดิจิทัลที่มีฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ที่มuความทันสมัยและเพียงพอต่อความต้องการ คะแนน 4.3 - - -
ยุทธศาสตร์ที่ 2: เป็นมหาวิทยาลัยที่สร้างความผาสุกและยั่งยืนให้แก่ชุมชน สังคม และประเทศ โดยการบูรณาการศาสตร์และศิลป์ผ่านงานวิจัยและบริการวิชาการ (มศก.)
กลยุทธ์ที่ 4: บูรณาการองค์ความรู้ศาสตร์และศิลป์ในงานวิจัย บริการวิชาการ เพื่อเพิ่มคุณค่า/มูลค่านำไปสู่การพัฒนาชุมชน สังคม และประเทศ
จำนวนองค์ความรู้/ชุดความรู้/หลักสูตร ที่สำนักหอสมุดกลางจัดทำร่วมกับคณะวิชา/ส่วนงาน หรือเครือข่ายภายนอก เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต โดยมีการเผยแพร่ในฐานข้อมูล/สื่ออิเลกทรอนิกส์ของสำนักหอสมุดกลาง องค์ความรู้/ชุดความรู้/หลักสูตร 3 - - -
ยุทธศาสตร์ที่ 3: เป็นมหาวิทยาลัยที่มีความเป็นเลิศด้านการบริหารจัดการเพื่อความยั่งยืนขององค์กร
กลยุทธ์ที่ 6: สร้างคน/พัฒนาบุคลากรสู่ความเป็นเลิศ
ร้อยละของบุคลลากรสำนักหอสมุดกลางที่ได้รับการพัฒนาทักษะภาษาต่างประเทศ ร้อยละ 20 - - -

3. การพัฒนาและขับเคลื่อนเพื่อให้ทันภาวะพลิกผัน (มศก.)

ตัวชี้วัดตามยุทธศาสตร์/นโยบาย/เป้าประสงค์
หน่วยวัด
เป้าหมายปีงบประมาณ 2567
ผลการดำเนินงาน 
รอบการประเมิน KPIs ครั้งที่ 1
ผลการดำเนินงาน 
ตามปี EdPEx
ผลการดำเนินงาน 
รอบการประเมิน KPIs ครั้งที่ 2
1. การขับเคลื่อนวัฒนธรรมการบริหารความเสี่ยงทั่วทั้งองค์กร
มีแผนบริหารความเสี่ยงและมีระบบการดำเนินงานบริหารความเสี่ยงที่ชัดเจน ระดับคะแนน 3 - - -
2. การประเมินประสิทธิภาพการดำเนินโครงการและการใช้จ่ายงบประมาณ
ร้อยละโครงการที่ดำเนินการได้ตามแผนที่กำหนด ร้อยละ 5.0 - - -
ร้อยละของโครงการที่มีการดำเนินการและมีผลลัพธ์เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของโครงการ ร้อยละ 70 - - -
ร้อยละของผลการใช้จ่ายงบประมาณ (โครงการเชิงนโยบาย) ร้อยละความคลาดเคลื่อน < 20 - - -
3. การขับเคลื่อนมหาวิทยาลัยสีเขียว (Green University)
ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนพัฒนาห้องสมุดสีเขียว (Green Library) ร้อยละ > 30 - - -
4. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของคณะวิชา/ ส่วนงานในการดำเนินงานการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDG) ของมหาวิทยาลัย
จำนวนข่าว/ สื่อประชาสัมพันธ์ที่คณะวิชา/ ส่วนงาน นำส่งมหาวิทยาลัย เพื่อเผยแพร่และส่งเสริมการรับรู้การดำเนินงานด้านการพัฒนาอย่างยั่งยืน (Sustainable Development Goals : SDGs) ของมหาวิทยาลัย ระดับคะแนน 3 - - -

4. การดำเนินงานตามแผนกลยุทธ์มหาวิทยาลัยศิลปากร ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2567 - 2570)

ตัวชี้วัดตามยุทธศาสตร์/นโยบาย/เป้าประสงค์
หน่วยวัด
เป้าหมายปีงบประมาณ 2567
ผลการดำเนินงาน 
รอบการประเมิน KPIs ครั้งที่ 1
ผลการดำเนินงาน 
ตามปี EdPEx
ผลการดำเนินงาน 
รอบการประเมิน KPIs ครั้งที่ 2
ยุทธศาสตร์ที่ 2 เป็นมหาวิทยาลัยที่สร้างความผาสุกและยั่งยืนของชุมชน สังคม และประเทศ โดยการบูรณาการศาสตร์และศิลป์ด้วยการงานวิจัยและการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ที่ 4: บูรณาการองค์ความรู้ศาสตร์และศิลป์ในงานวิจัย บริการวิชาการ เพื่อเพิ่มคุณค่ามูลค่าน าไปสู่การพัฒนาชุมชน สังคม และประเทศ
ตัวชี้วัดที่ 12 : จำนวนนโยบาย/มาตรฐาน/ฐานข้อมูลทางศิลปวัฒนธรรมระดับชาติที่มหาวิทยาลัยมีส่วนร่วม นโยบาย/ มาตรฐาน/ ฐานข้อมูล (สะสม) 3 - - -
Click to rate this post!
[Total: 0 Average: 0]

ข้อมูลนี้มีประโยชน์หรือไม่

Thanks for your feedback!